Page 152 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 152

149


                  2.2 ยุทธศาสตรแกไข – จังหวัดปรับปรุงแกไขจุดออนโดยใชประโยชนจากโอกาสที่อํานวยใหในแตละชวงเวลา


                   จุดอ่อน (Weaknesses)
                   W1: ประชาชนมีรายไดตอหัวต่ํากวาคาเฉลี่ยของประเทศ เนื่องจากพึ่งพาพืชเศรษฐกิจหลัก
                   W2: การบริหารจัดการสินคาเกษตรเนนเฉพาะกิจกรรมตนน้ํา ซึ่งมีมูลคาทางเศรษฐกิจต่ํากวากิจกรรมกลางน้ําและปลายน้ําแตทั้งนี้ผลิตภาพการผลิตภาค
                   การเกษตรยังคงอยูในระดับต่ํา
                   W3: ขาดความพรอมในการบริหารเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการขยายตัวของการทองเที่ยวและชุมชนเมืองรวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพ
                   ภูมิอากาศ
                   W4: ปญหาสังคมมีแนวโนมรุนแรง (อาทิ ปญหายาเสพติด การทองกอนวัยอันควร ความรุนแรงในครอบครัว ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาต่ํา)
                   W5: การบริหารจัดการดานสุขภาพและบริการสาธารณสุข ขาดประสิทธิภาพและไมครอบคลุมทุกพื้นที่
                   W6: ระบบนิเวศนทางทะเลและชายฝงถูกใชประโยชนเกินศักยภาพและเกิดความขัดแยงจากการใชทรัพยากรธรรมชาติเชิงเศรษฐกิจ ระบบนิเวศนตางๆ
                   ไมไดรับการดูแลอยางจริงจัง และขาดแผนการฟนฟูที่เปนรูปธรรม
                   W7: ขาดการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี ทั้งในเขตชุมชนและแหลงทองเที่ยวหลัก
                   W8: ปริมาณขยะมีแนวโนมสูงขึ้น และปริมาณขยะรอการกําจัดสูงขึ้น
                   W9: เกษตรกรสวนใหญเปนเกษตรกรรายยอย มีการรวมกลุมเปนสถาบันแตขาดการเชื่อมโยง เครือขายยังไมเพียงพอตอการสรางอํานาจตอรอง
                   W10: การบริหารจัดการโครงสรางพื้นฐานดานการบริหารจัดการน้ําและภัยที่เกิดจากน้ําในระดับพื้นที่และในระดับลุมน้ําภายในจังหวัดยังไมครอบคลุม
                   พื้นที่การเกษตรและพื้นที่เศรษฐกิจภายในจังหวัด                    WO Strategy – ยุทธศาสตรแกไข
                   W11: อัตราการพึ่งพิงสูงเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยประเทศ แสดงถึงการมีประชากรที่ตองการพึ่งพิงทางเศรษฐกิจมากขึ้น มีผูสูงอายุในสัดสวนสูงกวาวัยทํางาน
                   W12: ขาดการศึกษาวิจัยพืชอื่นเพื่อทดแทนพืชเศรษฐกิจหลัก    o เพิ่มจํานวนนักทองเที่ยวและรายไดจากการทองเที่ยวโดย
                   W13: ขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะและแรงงานที่มีฝมือในภาคเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร  ใชโอกาสจากกระแสทองเที่ยวโลกในการสรางความพรอม
                   W14: บุคลากรในภาคการทองเที่ยวขาดทักษะในการใหบริการ
                   W15: ขาดแคลนบุคลากรที่มีทักษะความรูเรื่องโลจิสติกส     เพื่อเปนเมืองนาเที่ยวนาอยู เพิ่มประสิทธิภาพการรักษา
                   W16: ระบบคมนาคมขนสงยังไมสามารถรองรับการเปนศูนยกลางโลจิสติกส
                   W17: ขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรโดยเฉพาะแรงงานไรฝมือในสวนยางพารา ปาลมน้ํามันและกิจการประมง  ความปลอดภัยพื้นที่ทองเที่ยวนานาชาติและชุมชน
                                                                            o เพิ่มจํานวนนักทองเที่ยวและรายไดจากการทองเที่ยวโดย

                   โอกาส (Opportunities)                                    ใชโอกาสจากกระแสทองเที่ยวโลกในการสรางความพรอม
                   O1: รัฐบาลไดกําหนดนโยบายสําคัญ โดยมียุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ (Country Strategy) ที่ชัดเจน เชน ยุทธศาสตรชาติ 20 ป แผนแมบท แผนปฏิรูปประเทศ  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
                   สังคมแหงชาติฉบับที่ 12 Thailand 4.0 แผนพัฒนาภาค และมีการลงทุนพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานคมนาคมทําใหเกิดโอกาสในการพัฒนาระดับพื้นที่ โดยมีแผนพัฒนาการเกษตร นโยบายโซน  เพื่อเปนเมืองนาเที่ยว แกไขปญหาในแหลงทองเที่ยวหลัก
                   นิ่งภาคเกษตร แผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติ แผนแมบทการพัฒนาอุตสาหกรรมไท ยแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม แผนแมบทการบริหารจัดการน้ํา แล ยุทธศาสตรการพัฒนาเพื่อเสริมความ
                   มั่นคงของชาติ                                            และเพิ่มความปลอดภัยของนักทองเที่ยว
                   O2: รัฐบาลมีนโยบายกอสรางรถไฟรางคูในเสนทางสายใต
                   O3: สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) ไดรับอนุมัติงบประมาณ ป พ.ศ.2561
                   (แผนภาค) ใหศึกษาออกแบบทางรถไฟสายใหมชวงอําเภอดอนสักเชื่อมโยงกับรถไฟสายใต
                   O4: การเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรโลก ทําใหความตองการสินคาเกษตรและอาหารมีปริมาณสูง
                   O5: กระแสโลกใหความสําคัญกับการบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมสงผลตอการพัฒนาสินคาเกษตรปลอดภัย
                   O6: ความกาวหนาของวิทยาการและเทคโนโลยีสงผลใหเกิดการวิจัยพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมและชวยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและมูลคาสินคาเกษตรและสินคาอุตสาหกรรม
                   O7: การรวมกลุมประเทศอาเซียนและกรอบความรวมมือตางๆ เชน IMT-GT เปดโอกาสทางการตลาดโดยเฉพาะผลผลิตทางการเกษตรอุตสาหกรรมเกษตรและการขยายตัวของภาคการทองเที่ยว
                   และคมนาคมขนสง
                   O8: กระแสนิยมของนักทองเที่ยวชาวตางชาติในการทองเที่ยวทางธรรมชาติการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพสอดรับกับศักยภาพการทองเที่ยวของจังหวัด
                   O9: แรงงานจากประเทศเพื่อนบานสามารถทดแทนการขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรและการทองเที่ยว
                   O10: การเพิ่มศักยภาพและนําประสบการณของแรงงานสตรีและแรงงานหลังเกษียณซึ่งเพิ่มขึ้นมาใช
                     ประโยชนในการพัฒนาพื้นที่
                   O11: กระทรวงเกษตรและสหกรณเปดใหใชประโยชนแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map)
                   O12: มีงานวิจัยทางดานยางพาราและปาลมน้ํามันที่รองรับการพัฒนาเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม  (Value-Based Economy)
                   O13:  การสงเสริมการทองเที่ยวชุมชนเพื่อการกระจายรายได
                   O14: การเพิ่มขึ้นของนักทองเที่ยวผูสูงอายุที่มีกําลังซื้อสูง
                   O15: ภาครัฐใหความสําคัญกับการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต
                   O16: รัฐบาลกําหนดนโยบายการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใตอยางยั่งยืน โดยกําหนดพื้นที่จังหวัดสุราษฎรธานีใหเปนพื้นที่เศรษฐกิจที่มุงเนนการลงทุนเพื่อสรางพื้นที่เศรษฐกิจใหมที่จะสราง
                   โอกาสแกประชาชนและภาคธุรกิจในการสรางรายได
                   O17: รัฐกําหนดใหจังหวัดสุราษฎรธานีเปนเมืองสมุนไพร (SuratthaniHerbal City) 1 ใน 4 ของประเทศ
                   O18: รัฐสงเสริมใหปลูกพืชเศรษฐกิจเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157