Page 156 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 156

153


                         อันเนื่องจากขอจํากัดของทรัพยากรและงบประมาณ อุตสาหกรรมอื่นๆ ซึ่งมีความนาสนใจโดย
                  เปรียบเทียบนอยกวา เพราะสรางฐานรายไดใหกับจังหวัดในสัดสวนนอยกวา และมีประชาชนเขาไปมีสวน

                  เกี่ยวของในอุตสาหกรรมนั้นนอยกวา (ไดแก อุตสาหกรรมเหมืองแร การผลิตขาวและปศุสัตว) ก็จะไมถูกเลือก

                  เปนจุดเนนในการพัฒนา แตอยางไรก็ตาม การปฏิบัติราชการของกระทรวง กรม หนวยงานที่เกี่ยวของยังคง
                  พัฒนาอุตสาหกรรมเหลานี้ตามหนาที่ปกติ

                  4. การวิเคราะหประเด็นการพัฒนา เปาประสงค และแนวทางการพัฒนา

                         ขั้นตอนโดยสรุปในการจัดทําแผนงานโครงการใหเชื่อมโยงกับวัตถุประสงคและแนวทางการพัฒนา

                  ดําเนินงานในแตละประเด็นการพัฒนา ไดดําเนินการ โดยใชหวงโซคุณคา (Value Chain) เปนเครื่องมือในการ
                  กําหนดเปาหมายการพัฒนาในแตละประเด็นการพัฒนา เพื่อใหเห็นบริบทของการพัฒนาในแตละประเด็นได

                  ครอบคลุม

                         การกําหนดโครงการหลัก (Flagship projects) เริ่มตนดวยการพิจารณาองคประกอบตางๆ ใน หวงโซ

                  คุณคา (Value Chain) โดยเริ่มจากคําถามที่วา การดําเนินงานใหความสําเร็จตามตัวชี้วัดที่วางไวนั้น นั้น ตอง
                  ดําเนินงานในกระบวนงานใดบางใหสําเร็จหรือปรับปรุงองคประกอบใดบางใหเปนเลิศ ผลการวิเคราะหจะพบวา

                  ถึงแมวาจังหวัดจะมีกระบวนงานมากมายที่สนองตอบตอกลุมเปาหมายการพัฒนา แตไมใชทุกกระบวนงานที่จะ
                  ถูกเลือกมาปรับปรุงหรือพัฒนา กระบวนงานที่ถูกเลือกมาจัดทําเปนโครงการสําคัญ (Flagship projects) คือ

                  กระบวนงานที่จําเปนและสนองตอบตอเปาหมายการพัฒนาโดยตรง

                         การวิเคราะหศักยภาพจังหวัด  จะพบวา สาขาเศรษฐกิจที่มีสัดสวนใน GPP จังหวัดสุราษฎรธานี


                  มากที่สุด คือ สาขาเกษตรกรรม (47,266 ลานบาท) คิดเปนรอยละ 22.40 ของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด

                  รองลงมาไดแก สาขาที่พักและบริการดานอาหาร (42,365 ลานบาท) คิดเปนรอยละ 17.11 สาขาอุตสาหกรรม

                  (33,840 ลานบาท) คิดเปนรอยละ 17.35 และสาขาขายสงขายปลีก (27,448 ลานบาท) คิดเปนรอยละ 10.15

                  ซึ่งจะพบวามูลคาของแตละสาขาเพิ่มสูงขึ้นจากป 2559 แตมีขอสังเกตวาสัดสวนภาคการเกษตรลดลงจาก

                  รอยละ 23.54 เปนรอยละ 22.40

                         การวิเคราะหศักยภาพทางเศรษฐกิจและการแขงขันของจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ภาคเกษตรสําคัญ

                  ของจังหวัดสุราษฎรธานี  คือ 1) ยางพาราและปาลมน้ํามัน และ 2) ไมผลและการประมง และจากการวิเคราะห

                  ปจจัยแวดลอมเบื้องตน พบวา สถานการณที่เกิดขึ้นถึงแมจังหวัดสุราษฎรธานีจะมีจุดแข็งที่เปนฐานการผลิตทาง

                  การเกษตรที่สําคัญ แตมีจุดออนและอุปสรรคสําคัญที่กระบวนการทางเศรษฐกิจยังเนนที่การผลิตวัตถุดิบขั้นตน

                  ซึ่งมีมูลคาทางเศรษฐกิจต่ําและจากภาวะคุกคามจากการขยายพื้นที่ปลูกยางพาราและปาลมน้ํามันในภูมิภาคอื่นๆ

                  ของประเทศ ประเทศในภูมิภาคอินโดจีนและประเทศจีนจํานวนมากสงผลกระทบตอปริมาณความตองการและ

                  ราคายางพาราและปาลมน้ํามันจากประเทศไทยในอนาคต ดังนั้น การเพิ่มศักยภาพการแขงขันภาคเกษตรและ
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161