Page 154 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 154
151
2.4 ยุทธศาสตรแกวิกฤติ – กลยุทธที่ปองกันตนเองโดยการลดความออนแอและหลีกเลี่ยงสภาวะคุกคามให
ไดมากที่สุด
จุดอ่อน (Weaknesses)
W1: ประชาชนมีรายไดตอหัวต่ํากวาคาเฉลี่ยของประเทศ เนื่องจากพึ่งพาพืชเศรษฐกิจหลัก
W2: การบริหารจัดการสินคาเกษตรเนนเฉพาะกิจกรรมตนน้ํา ซึ่งมีมูลคาทางเศรษฐกิจต่ํากวากิจกรรมกลางน้ําและปลายน้ําแตทั้งนี้ผลิตภาพการผลิตภาค
การเกษตรยังคงอยูในระดับต่ํา
W3: ขาดความพรอมในการบริหารเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการขยายตัวของการทองเที่ยวและชุมชนเมืองรวมถึงการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ
W4: ปญหาสังคมมีแนวโนมรุนแรง (อาทิ ปญหายาเสพติด การทองกอนวัยอันควร ความรุนแรงในครอบครัว ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาต่ํา)
W5: การบริหารจัดการดานสุขภาพและบริการสาธารณสุข ขาดประสิทธิภาพและไมครอบคลุมทุกพื้นที่
W6: ระบบนิเวศนทางทะเลและชายฝงถูกใชประโยชนเกินศักยภาพและเกิดความขัดแยงจากการใชทรัพยากรธรรมชาติเชิงเศรษฐกิจ ระบบนิเวศนตางๆ
ไมไดรับการดูแลอยางจริงจัง และขาดแผนการฟนฟูที่เปนรูปธรรม
W7: ขาดการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี ทั้งในเขตชุมชนและแหลงทองเที่ยวหลัก WT Strategy – ยุทธศาสตรแกวิกฤติ
W8: ปริมาณขยะมีแนวโนมสูงขึ้น และปริมาณขยะรอการกําจัดสูงขึ้น o แกไขวิกฤติดานการศึกษาและเตรียมความพรอมเขาสู
W9: เกษตรกรสวนใหญเปนเกษตรกรรายยอย มีการรวมกลุมเปนสถาบันแตขาดการเชื่อมโยง เครือขายยังไมเพียงพอตอการสรางอํานาจตอรอง
W10: การบริหารจัดการโครงสรางพื้นฐานดานการบริหารจัดการน้ําและภัยที่เกิดจากน้ําในระดับพื้นที่และ ศตวรรษที่ 21 พัฒนาเครือขายการเรียนรูของเยาวชน
ในระดับลุมน้ําภายในจังหวัดยังไมครอบคลุมพื้นที่การเกษตรและพื้นที่เศรษฐกิจภายในจังหวัด เพื่อสรางทักษะในศตวรรษที่ 21
W11: อัตราการพึ่งพิงสูงเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยประเทศ แสดงถึงการมีประชากรที่ตองการพึ่งพิงทาง
เศรษฐกิจมากขึ้น มีผูสูงอายุในสัดสวนสูงกวาวัยทํางาน o แกไขปญหาสาธารณสุขของประชาชนและเตรียม
W12: ขาดการศึกษาวิจัยพืชอื่นเพื่อทดแทนพืชเศรษฐกิจหลัก
W13: ขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะและแรงงานที่มีฝมือในภาคเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร รับมือกับแรงงานแฝงและแรงงานตางดาว พัฒนา
W14: บุคลากรในภาคการทองเที่ยวขาดทักษะในการใหบริการ ระบบบริการสาธารณสุขใหมีคุณภาพระดับมาตรฐานสากล
W15: ขาดแคลนบุคลากรที่มีทักษะความรูเรื่องโลจิสติกส
W16: ระบบคมนาคมขนสงยังไมสามารถรองรับการเปนศูนยกลางโลจิสติกส (HA)
W17: ขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรโดยเฉพาะแรงงานไรฝมือในสวนยางพารา ปาลมน้ํามันและกิจการประมง o ลดความเสียหายจากภัยพิบัติและลดจากพึ่งพิงภาครัฐ
ภัยคุกคาม (Threats) ในการจัดการกับปญหาภัยพิบัติและสาธารณภัย ลด
T1: แรงงานแฝงและแรงงานตางดาวเปนสาเหตุของปญหาสังคมและปญหาดานสาธารณสุข ความเสี่ยงและเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนในการจัดการ
T2: ภาคอื่นๆ ของประเทศและประเทศในภูมิภาคอินโดจีน รวมทั้งประเทศจีนไดกําลังขยายพื้นที่ปลูกยางพาราและปาลมน้ํามัน ภัยพิบัติและสาธารณภัย
จํานวนมากสงผลกระทบตอปริมาณความตองการและราคายางพาราและปาลมน้ํามันจากประเทศไทย
T3: การกาวสูประชาคมอาเซียนทําใหเกิดการเคลื่อนยายเงินทุนและแรงงานเสรีสงผลกระทบตอภาคธุรกิจและแรงงานฝมือ o แกไขปญหาสิ่งแวดลอมเขตชุมชนและแหลงทองเที่ยว
จํานวนมากที่ยังไมพรอมโดยเฉพาะปจจัยดานภาษาตางประเทศ และสรางความพรอมในการรับมือกับการขยายตัวของ
T4: ภาวะเศรษฐกิจโลกที่ผันผวนสงผลกระทบตอราคาปจจัยการผลิตและคาครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้น เมืองจากแรงงานยายถิ่น สงเสริมการมีสวนรวมของทุก
T5: กระแสบริโภคนิยมและคานิยมที่ผิด กระตุนการใชจายฟุมเฟอยของภาคประชาชน
T6: โรคระบาดในพืช เชน โรครากขาวในยางพารา สงผลตอฐานเศรษฐกิจหลักของจังหวัดและรายไดของเกษตรกร ภาคสวนในการจัดการสิ่งแวดลอมในแหลงทองเที่ยวและ
T7: การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกและภัยธรรมชาติทั้งอุทกภัย วาตภัย และดินถลม เกิดความเสียหายทั้งชีวิตและ เขตเมือง
ทรัพยสินจํานวนมาก
T8: ลัทธิการกอการราย (Terrorism) สงผลกระทบในเชิงจิตวิทยาของภาคการทองเที่ยว
T9: การบังคับใชกฎหมายยังมีประสิทธิภาพไมเพียงพอ เชน ในธุรกิจทองเที่ยว และการขนสงสินคา (การควบคุมน้ําหนัก
รถบรรทุก) รวมทั้ง การบังคับใชกฎหมายสิ่งแวดลอมยังมีความลาสมัย
T10: สถาบันการศึกษาในพื้นที่ยังไมสามารถตอบสนองความตองการดานสาธารณสุขไดอยางเพียงพอ