Page 153 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 153

150



                         2.3 ยุทธศาสตรปองกัน – จังหวัดใชจุดแข็งที่มีอยูนําไปกําหนดกลยุทธปองกันหรือลดทอนอิทธิพลของ

                  อุปสรรคคุกคามภายนอก


                   จุดแข็ง (Strengths)
                   S1: เศรษฐกิจมีภาคการผลิตหลักหลายสาขารองรับ ไดแก เกษตร อุตสาหกรรม การทองเที่ยว และ พาณิชยกรรมS2: ทําเลที่ตั้งเหมาะสม
                   ระหวางสองฝงทะเล มีความไดเปรียบในการเชื่อมโยงการคมนาคมและแหลง
                        ทองเที่ยวทั้งฝง อาวไทย-อันดามัน สามารถพัฒนาสูศูนยกลางการคมนาคมและศูนยโลจิสติกส
                        ภาคใตตอนบน
                   S3:  ผลผลิตทางการเกษตรหลากหลาย ไดแก ยางพารา ปาลมน้ํามัน ผลไม อาหารทะเล และสมุนไพร สรางความมั่นคงและสามารถแปรรูปเพื่อ
                   สรางมูลคาเพิ่มได
                   S4: ทรัพยากรการทองเที่ยวทั้งทางธรรมชาติและแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมมีชื่อเสียงระดับโลกและมีสวนโมกขพลารามเปนแหลงปฏิบัติธรรม
                   ระดับนานาชาติ
                   S5:  ทรัพยากรธรรมชาติมีความหลากหลายและอุดมสมบูรณ ทั้งปาไม ชายฝงทะเลและปาชายเลนรวมถึง ชวากทะเลเปนแหลงนิเวศนอันอุดม
                   สมบูรณของสัตวทะเลวัยออน
                   S6:  สถาบันการศึกษาและองคกรภาครัฐในพื้นที่สามารถวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสรางมูลคาแกผลผลิตทางการเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ
                   และการบริหารจัดการ
                   S7:  มีทุนทางสังคมและภูมิปญญาทองถิ่นสนับสนุนการแพทยทางเลือกและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ/สปา
                   S8:  มีศูนยความเปนเลิศดานสุขภาพ ศูนยความเปนเลิศทางดานหัวใจ หลอดเลือดและมะเร็ง
                   S9:  มีโรงงานอุตสาหกรรมตอเนื่องจากภาคเกษตรจํานวนมาก
                   S10: มีพื้นที่เพียงพอและเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตจากเกษตรเชิงเดี่ยวเปนเกษตรผสมผสาน  ST Strategy – ยุทธศาสตรปองกัน
                   S11: มีโรงแรม ที่พักจํานวนมาก และหองประชุมสัมมนาขนาดใหญเพียงพอรองรับกิจกรรมดานการทองเที่ยว การประชุมสัมมนา การรับปริญญา  o ใชการวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑเพิ่มมูลคายางพารา
                   บัตร และการแสดงสินคาในระดับภูมิภาค
                   S12:  การทองเที่ยวชุมชนมีผูนําชุมชนที่มีความเขมแข็ง     เพื่อรับมือกับปริมาณความตองการวัตถุดิบยางพาราและ
                   S13:  มีตนแบบของพื้นที่ที่ใชพลังงานสะอาด เกาะสะอาด  เชน เกาะพะลวย  ปาลมน้ํามันจากประเทศไทยที่จะลดลงในอนาคต 
                   S14: มีคุณภาพดินที่ดีสามารถปลูกพืชและใหผลผลิตที่เร็วกวาตางประเทศถึง 5 เทา
                                                                              พัฒนาภาคการผลิตและอุตสาหกรรมยางพาราและปาลม
                   ภัยคุกคาม (Threats)
                   T1: แรงงานแฝงและแรงงานตางดาวเปนสาเหตุของปญหาสังคมและปญหาดานสาธารณสุข  น้ํามันแบบครบวงจร (การผลิต การแปรรูป การตลาด) เพื่อ
                   T2: ภาคอื่นๆ ของประเทศและประเทศในภูมิภาคอินโดจีน รวมทั้งประเทศจีนไดกําลังขยายพื้นที่ปลูกยางพาราและปาลมน้ํามันจํานวนมาก  เพิ่มมูลคาและศักยภาพในการแขงขัน
                   สงผลกระทบตอปริมาณความตองการและราคายางพาราและปาลมน้ํามันจากประเทศไทย
                   T3: การกาวสูประชาคมอาเซียนทําใหเกิดการเคลื่อนยายเงินทุนและแรงงานเสรีสงผลกระทบตอภาคธุรกิจและแรงงานฝมือจํานวนมากที่ยัง
                   ไมพรอมโดยเฉพาะปจจัยดานภาษาตางประเทศ
                   T4: ภาวะเศรษฐกิจโลกที่ผันผวนสงผลกระทบตอราคาปจจัยการผลิตและคาครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้น
                   T5: กระแสบริโภคนิยมและคานิยมที่ผิด กระตุนการใชจายฟุมเฟอยของภาคประชาชน
                   T6: โรคระบาดในพืช เชน โรครากขาวในยางพารา สงผลตอฐานเศรษฐกิจหลักของจังหวัดและรายไดของเกษตรกร
                   T7: การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกและภัยธรรมชาติทั้งอุทกภัย วาตภัย และดินถลม เกิดความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน
                   จํานวนมาก
                   T8: ลัทธิการกอการราย (Terrorism) สงผลกระทบในเชิงจิตวิทยาของภาคการทองเที่ยว
                   T9:  การบังคับใชกฎหมายยังมีประสิทธิภาพไมเพียงพอ เชน ในธุรกิจทองเที่ยว และการขนสงสินคา (การควบคุมน้ําหนักรถบรรทุก)
                   รวมทั้ง การบังคับใชกฎหมายสิ่งแวดลอมยังมีความลาสมัย
                   T10: สถาบันการศึกษาในพื้นที่ยังไมสามารถตอบสนองความตองการดานสาธารณสุขไดอยางเพียงพอ
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158