Page 149 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 149

146


                      O12: มีงานวิจัยทางดานยางพาราและปาลมน้ํามันที่รองรับการพัฒนาเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม

                             (Value-Based Economy)
                      O13:  การสงเสริมการทองเที่ยวชุมชนเพื่อการกระจายรายได

                      O14: การเพิ่มขึ้นของนักทองเที่ยวผูสูงอายุที่มีกําลังซื้อสูง

                      O15: ภาครัฐใหความสําคัญกับการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต

                      O16: รัฐบาลกําหนดนโยบายการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใตอยางยั่งยืน โดยกําหนดพื้นที่

                            จังหวัดสุราษฎรธานีใหเปนพื้นที่เศรษฐกิจที่มุงเนนการลงทุนเพื่อสรางพื้นที่เศรษฐกิจใหมที่จะสราง

                            โอกาสแกประชาชนและภาคธุรกิจในการสรางรายได

                      O17: รัฐกําหนดใหจังหวัดสุราษฎรธานีเปนเมืองสมุนไพร (Suratthani Herbal City) 1 ใน 4 ของประเทศ

                      O18: รัฐสงเสริมใหปลูกพืชเศรษฐกิจเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ


                  1.4 อุปสรรค (Threats)

                      T1: แรงงานแฝงและแรงงานตางดาวเปนสาเหตุของปญหาสังคมและปญหาดานสาธารณสุข

                      T2: ภาคอื่นๆ ของประเทศและประเทศในภูมิภาคอินโดจีน รวมทั้งประเทศจีนไดกําลังขยายพื้นที่ปลูกยางพารา

                           และปาลมน้ํามันจํานวนมากสงผลกระทบตอปริมาณความตองการและราคายางพาราและปาลมน้ํามัน

                           จากประเทศไทย

                      T3: การกาวสูประชาคมอาเซียนทําใหเกิดการเคลื่อนยายเงินทุนและแรงงานเสรีสงผลกระทบตอภาคธุรกิจและ

                           แรงงานฝมือจํานวนมากที่ยังไมพรอมโดยเฉพาะปจจัยดานภาษาตางประเทศ
                      T4: ภาวะเศรษฐกิจโลกที่ผันผวนสงผลกระทบตอราคาปจจัยการผลิตและคาครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้น

                      T5: กระแสบริโภคนิยมและคานิยมที่ผิด กระตุนการใชจายฟุมเฟอยของภาคประชาชน

                      T6:  โรคระบาดในพืช เชน โรครากขาวในยางพารา สงผลตอฐานเศรษฐกิจหลักของจังหวัดและรายไดของเกษตรกร

                      T7:  การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกและภัยธรรมชาติทั้งอุทกภัย วาตภัย และดินถลม เกิดความ

                           เสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสินจํานวนมาก

                      T8: ลัทธิการกอการราย (Terrorism) สงผลกระทบในเชิงจิตวิทยาของภาคการทองเที่ยว

                      T9:  การบังคับใชกฎหมายยังมีประสิทธิภาพไมเพียงพอ เชน ในธุรกิจทองเที่ยว และการขนสงสินคา (การควบคุม
                           น้ําหนักรถบรรทุก) รวมทั้ง การบังคับใชกฎหมายสิ่งแวดลอมยังมีความลาสมัย
                      T10: สถาบันการศึกษาในพื้นที่ยังไมสามารถตอบสนองความตองการดานสาธารณสุขไดอยางเพียงพอ

                  2. การวิเคราะหเชิงยุทธศาสตรดวยตารางไขว (TOWS Matrix)

              ตารางสรุปการวิเคราะหเชิงยุทธศาสตรดวยตารางไขว (TOWS Matrix)
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154