Page 145 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 145

142

                  จัดการน้ํา ยุทธศาสตรการพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงของชาติ เขตเศรษฐกิจพิเศษ โครงสรางพื้นฐานดาน

                  คมนาคม สิ่งแวดลอม (ปาไม ขยะ หมอกควัน) ปรองดองสมานฉันท ผังเมือง เปนตน ทั้งนี้ ไดมุงเนนการทํางาน

                  แบบเครือขายรวมกันทุกภาคสวน (สวนกลาง สวนภูมิภาคและสวนทองถิ่น รวมถึงภาคเอกชนและภาคประชา
                  สังคม/ชุมชน) เพื่อรวมกันกําหนดทิศทางการพัฒนาจังหวัด รวมทั้งใหความสําคัญกับแผนพัฒนากลุมจังหวัด

                  เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันอันจะกอใหเกิดประโยชนตอประชาชน อยางทั่วถึง

                         4.  สรุปขอสังเกตจากรายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติ

                  งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2562 (แผนงานบูรณาการสงเสริมการพัฒนาจังหวัดและกลุมจังหวัด
                  แบบบูรณาการ)


                         (1) ผลการเบิกจายงบประมาณของจังหวัดและกลุมจังหวัดต่ํามาก สาเหตุมาจากไมสามารถจัดซื้อจัด
                  จางไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจางและการ

                  บริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ดังนั้น จึงควรสรางความรูความเขาใจใหแกบุคลากรของจังหวัดและกลุมจังหวัด

                  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการดําเนินงาน
                         (2) สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ควรกํากับดูแลการจัดทําแผนปฏิบัติการของจังหวัดและกลุม

                  จังหวัดใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรชาติ มุงสูเปาหมายประเทศไทย 4.0 และสงเสริมการดําเนินงานของ

                  ภาคและประเทศ การจัดทําแผนงานบูรณาการควรปรับปรุงการกําหนดเปาหมายและตัวชี้วัดใหเหมาะสมกับแต
                  ละกลุมจังหวัดและจังหวัด โดยนําจุดแข็งของแตละกลุมจังหวัดและจังหวัดมากําหนดเปนยุทธศาสตรของพื้นที่

                  นั้นๆ เพราะแตละจังหวัดและกลุมจังหวัด มีศักยภาพและรายละเอียดเชิงพื้นที่ที่แตกตางกัน ไมควรกําหนด
                  เปาหมายและตัวชี้วัดที่เหมือนกัน นอกจากนั้นแผนงานที่ไดรับการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปแลว

                  สมควรดําเนินการโดยไมมีการเปลี่ยนแปลงในกรณีที่ผูวาราชการจังหวัดที่มารับตําแหนงใหมและไมเห็นชอบกับ

                  การดําเนินตามแผน
                         (3) การดําเนินงานของกลุมจังหวัดควรเปนการบูรณาการการทํางานรวมกันของจังหวัดภายในกลุม มี

                  การวางแผนรวมกัน และดําเนินงานรวมกัน เพื่อผลการดําเนินงานที่กอใหเกิดประโยชนรวมกันอยางเปน

                  รูปธรรม แผนงานบูรณาการไมควรนําแผนงานปกติของแตละจังหวัดมารวมไวดวยกัน
                  กลุมจังหวัดภาคใต

                         ควรมีแผนการดําเนินงานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใหสอดคลองกับการดําเนินนโยบายการทองเที่ยว
                  เพื่อคนทั้งมวล (Tourism for All) และควรมีการบูรณาการการดําเนินงานในการลดความเสี่ยงและจัดการกับปญหา

                  ภัยพิบัติอยางเปนรูปธรรม
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150