Page 147 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 147

144


                      S9:  มีโรงงานอุตสาหกรรมตอเนื่องจากภาคเกษตรจํานวนมาก
                      S10: มีพื้นที่เพียงพอและเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตจากเกษตรเชิงเดี่ยวเปนเกษตรผสมผสาน

                      S11: มีโรงแรม ที่พักจํานวนมาก และหองประชุมสัมมนาขนาดใหญเพียงพอรองรับกิจกรรมดานการ

                            ทองเที่ยว การประชุมสัมมนา การรับปริญญาบัตร และการแสดงสินคาในระดับภูมิภาค
                      S12:  การทองเที่ยวชุมชนมีผูนําชุมชนที่มีความเขมแข็ง

                      S13:  มีตนแบบของพื้นที่ที่ใชพลังงานสะอาด เกาะสะอาด  เชน เกาะพะลวย

                      S14: มีคุณภาพดินที่ดีสามารถปลูกพืชและใหผลผลิตที่เร็วกวาตางประเทศถึง 5 เทา


                  1.2 จุดออน (Weaknesses)

                      W1: ประชาชนมีรายไดตอหัวต่ํากวาคาเฉลี่ยของประเทศ เนื่องจากพึ่งพาพืชเศรษฐกิจหลัก

                      W2: การบริหารจัดการสินคาเกษตรเนนเฉพาะกิจกรรมตนน้ํา ซึ่งมีมูลคาทางเศรษฐกิจต่ํากวากิจกรรมกลาง
                           น้ําและปลายน้ําแตทั้งนี้ผลิตภาพการผลิตภาคการเกษตรยังคงอยูในระดับต่ํา

                      W3: ขาดความพรอมในการบริหารเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการขยายตัวของการทองเที่ยว
                           และชุมชนเมืองรวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

                      W4: ปญหาสังคมมีแนวโนมรุนแรง (อาทิ ปญหายาเสพติด การทองกอนวัยอันควร ความรุนแรงในครอบครัว

                           ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาต่ํา)

                      W5: การบริหารจัดการดานสุขภาพและบริการสาธารณสุข ขาดประสิทธิภาพและไมครอบคลุมทุกพื้นที่

                      W6: ระบบนิเวศนทางทะเลและชายฝงถูกใชประโยชนเกินศักยภาพและเกิดความขัดแยงจากการใช

                           ทรัพยากรธรรมชาติเชิงเศรษฐกิจ ระบบนิเวศนตางๆ ไมไดรับการดูแลอยางจริงจัง และขาดแผนการ

                           ฟนฟูที่เปนรูปธรรม

                      W7: ขาดการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี ทั้งในเขตชุมชนและแหลงทองเที่ยวหลัก

                      W8: ปริมาณขยะมีแนวโนมสูงขึ้น และปริมาณขยะรอการกําจัดสูงขึ้น

                      W9: เกษตรกรสวนใหญเปนเกษตรกรรายยอย มีการรวมกลุมเปนสถาบันแตขาดการเชื่อมโยง เครือขายยังไม

                           เพียงพอตอการสรางอํานาจตอรอง

                      W10: การบริหารจัดการโครงสรางพื้นฐานดานการบริหารจัดการน้ําและภัยที่เกิดจากน้ําในระดับพื้นที่และ

                             ในระดับลุมน้ําภายในจังหวัดยังไมครอบคลุมพื้นที่การเกษตรและพื้นที่เศรษฐกิจภายในจังหวัด

                      W11: อัตราการพึ่งพิงสูงเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยประเทศ แสดงถึงการมีประชากรที่ตองการพึ่งพิงทาง

                             เศรษฐกิจมากขึ้น มีผูสูงอายุในสัดสวนสูงกวาวัยทํางาน

                      W12: ขาดการศึกษาวิจัยพืชอื่นเพื่อทดแทนพืชเศรษฐกิจหลัก
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152