Page 151 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 151

148


                         การวิเคราะหเชิงยุทธศาสตรในรูปความสัมพันธแบบตารางไขว (TOWS Matrix) เปนการวิเคราะหเพื่อ
                  วางทิศทางยุทธศาสตรจังหวัด และการวิเคราะห TOWS matrix เปนการวิเคราะหเชิงยุทธศาสตรที่มีเปาหมาย

                  เพื่อกําหนดกลยุทธการพัฒนา (Strategy) ดําเนินการหลังจากการวิเคราะหศักยภาพการพัฒนาโดยการ

                  วิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรคขอจํากัดแลว ซึ่งกลยุทธการพัฒนาประเภทตาง ๆ เกิดจากการ
                  วิเคราะหความสัมพันธของปจจัยศักยภาพ 4 ชุดปจจัย ไดแก ระหวางจุดแข็งกับโอกาส (S+O) จุดแข็งกับ

                  ขอจํากัด (S+T) จุดออนกับโอกาส (W+O) และจุดออนกับขอจํากัด (W+T) ซึ่งผลผลิตของการวิเคราะห
                  ความสัมพันธในแตละคูปจจัย คือ กลยุทธ 4 ประเภท ดังตอไปนี้

                         2.1 ยุทธศาสตรเชิงรุก – ตําแหนงที่ดีที่สุดของจังหวัดเพราะเปนสถานการณที่มีทั้งจุดแข็งและโอกาส

                  จังหวัดจะนําจุดแข็งไปรับและฉวยโอกาสที่เกิดขึ้นมาใชประโยชนในการพัฒนาจังหวัด
                         จุดแข็ง (Strengths)

                          S1: เศรษฐกิจมีภาคการผลิตหลักหลายสาขารองรับ ไดแก เกษตร อุตสาหกรรม การทองเที่ยว และ พาณิชยกรรมS2: ทําเลที่ตั้งเหมาะสม ระหวางสองฝง
                         ทะเล มีความไดเปรียบในการเชื่อมโยงการคมนาคมและแหลง
                                                                                         SO Strategy – ยุทธศาสตรเชิงรุก
                         ทองเที่ยวทั้งฝง อาวไทย-อันดามัน สามารถพัฒนาสูศูนยกลางการคมนาคมและศูนยโลจิสติกสภาคใตตอนบน  o ใชจุดแข็งที่มีผลผลิตทางการเกษตรที่หลากหลายสราง
                         S3:  ผลผลิตทางการเกษตรหลากหลาย ไดแก ยางพารา ปาลมน้ํามัน ผลไม อาหารทะเล และสมุนไพร สรางความมั่นคงและสามารถแปรรูปเพื่อสราง  โอกาสจากกระแสความตองการอาหารคุณภาพและปลอดภัยที่
                         มูลคาเพิ่มได
                         S4: ทรัพยากรการทองเที่ยวทั้งทางธรรมชาติและแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมมีชื่อเสียงระดับโลกและมีสวนโมกขพลารามเปนแหลงปฏิบัติธรรมระดับ  เพิ่มสูงขึ้น  สงเสริมและพัฒนายกระดับมาตรฐานฟารม (ไม
                         นานาชาติ
                         S5:  ทรัพยากรธรรมชาติมีความหลากหลายและอุดมสมบูรณ ทั้งปาไม ชายฝงทะเลและปาชายเลนรวมถึง ชวากทะเลเปนแหลงนิเวศนอันอุดมสมบูรณ  ผลและสินคาประมง) ใหไดมาตรฐานสากลผานกลุมเกษตรกร
                         ของสัตวทะเลวัยออน                                      และสถาบันเกษตรกร
                         S6:  สถาบันการศึกษาและองคกรภาครัฐในพื้นที่สามารถวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสรางมูลคาแกผลผลิตทางการเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติและการ
                         บริหารจัดการ                                             o ใชจุดแข็งที่มีสถาบันการศึกษาพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม
                         S7:  มีทุนทางสังคมและภูมิปญญาทองถิ่นสนับสนุนการแพทยทางเลือกและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ/สปา  มูลคาในการสรางโอกาสจากความตองการอาหารคุณภาพและ
                         S8:  มีศูนยความเปนเลิศดานสุขภาพ ศูนยความเปนเลิศทางดานหัวใจ หลอดเลือดและมะเร็ง
                         S9:  มีโรงงานอุตสาหกรรมตอเนื่องจากภาคเกษตรจํานวนมาก     ปลอดภัยที่เพิ่มสูงขึ้น  ใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนา
                         S10: มีพื้นที่เพียงพอและเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตจากเกษตรเชิงเดี่ยวเปนเกษตรผสมผสาน  คุณภาพและเพิ่มมูลคาสินคาไมผลแปรรูป ผลิตภัณฑประมงและ
                         S11: มีโรงแรม ที่พักจํานวนมาก และหองประชุมสัมมนาขนาดใหญเพียงพอรองรับกิจกรรมดานการทองเที่ยว การประชุมสัมมนา การรับปริญญาบัตร   อาหารพื้นบาน (OTOP)
                         และการแสดงสินคาในระดับภูมิภาค
                         S12:  การทองเที่ยวชุมชนมีผูนําชุมชนที่มีความเขมแข็ง   o ใชทรัพยากรทางการทองเที่ยวระดับโลกของจังหวัดเพิ่ม
                         S13:  มีตนแบบของพื้นที่ที่ใชพลังงานสะอาด เกาะสะอาด  เชน เกาะพะลวย  โอกาสในกระแสการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ เชิงวัฒนธรรม
                         S14: มีคุณภาพดินที่ดีสามารถปลูกพืชและใหผลผลิตที่เร็วกวาตางประเทศถึง 5 เทา
                         โอกาส (Opportunities)                                    และเชิงสุขภาพ  พัฒนาแหลงทองเที่ยวและกิจกรรมการ
                         O1: รัฐบาลไดกําหนดนโยบายสําคัญ โดยมียุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ (Country Strategy) ที่ชัดเจน เชน ยุทธศาสตรชาติ 20 ป แผนแมบท แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม  ทองเที่ยวอันเปนเอกลักษณจังหวัดใหตอบรับกระแสการ
                         แหงชาติฉบับที่ 12 Thailand 4.0 แผนพัฒนาภาค และมีการลงทุนพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานคมนาคมทําใหเกิดโอกาสในการพัฒนาระดับพื้นที่ โดยมีแผนพัฒนาการเกษตร นโยบายโซนนิ่งภาค
                         เกษตร แผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติ แผนแมบทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม แผนแมบทการบริหารจัดการน้ํา และยุทธศาสตรการพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงของ  ทองเที่ยวโลก
                         ชาติ                                                     o ใชทําเลที่ตั้งที่ไดเปรียบสรางโอกาสจากนโยบายภาครัฐและ
                         O2: รัฐบาลมีนโยบายกอสรางรถไฟรางคูในเสนทางสายใต
                         O3: สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) ไดรับอนุมัติงบประมาณ ป พ.ศ.2561
                         (แผนภาค) ใหศึกษาออกแบบทางรถไฟสายใหมชวงอําเภอดอนสักเชื่อมโยงกับรถไฟสายใต  การลงทุนโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญเชื่อมโยงเศรษฐกิจ
                         O4: การเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรโลก ทําใหความตองการสินคาเกษตรและอาหารมีปริมาณสูง
                         O5: กระแสโลกใหความสําคัญกับการบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมสงผลตอการพัฒนาสินคาเกษตรปลอดภัย
                         O6: ความกาวหนาของวิทยาการและเทคโนโลยีสงผลใหเกิดการวิจัยพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมและชวยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและมูลคาสินคาเกษตรและสินคาอุตสาหกรรม   ภูมิภาค  พัฒนาโครงขายคมนาคมขนสงและศูนยโลจิสติกส
                         O7: การรวมกลุมประเทศอาเซียนและกรอบความรวมมือตางๆ เชน IMT-GT เปดโอกาสทางการตลาดโดยเฉพาะผลผลิตทางการเกษตรอุตสาหกรรมเกษตรและการขยายตัวของภาคการทองเที่ยวและ  รองรับการเชื่อมโยงเศรษฐกิจภูมิภาค
                         คมนาคมขนสง
                         O8: กระแสนิยมของนักทองเที่ยวชาวตางชาติในการทองเที่ยวทางธรรมชาติการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพสอดรับกับศักยภาพการทองเที่ยวของจังหวัด
                         O9: แรงงานจากประเทศเพื่อนบานสามารถทดแทนการขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรและการทองเที่ยว  o ใชทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณและหลากหลายเปนฐานใน
                         O10: การเพิ่มศักยภาพและนําประสบการณของแรงงานสตรีและแรงงานหลังเกษียณซึ่งเพิ่มขึ้นมาใช   การสรางโอกาสจากกระแสทองเที่ยวโลก  สงเสริมการมี
                           ประโยชนในการพัฒนาพื้นที่
                         O11: กระทรวงเกษตรและสหกรณเปดใหใชประโยชนแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map)
                         O12: มีงานวิจัยทางดานยางพาราและปาลมน้ํามันที่รองรับการพัฒนาเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม   สวนรวมของทุกภาคสวนในการจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อสรางการ
                         (Value-Based Economy)
                         O13:  การสงเสริมการทองเที่ยวชุมชนเพื่อการกระจายรายได  ทองเที่ยวที่ยั่งยืน
                         O14: การเพิ่มขึ้นของนักทองเที่ยวผูสูงอายุที่มีกําลังซื้อสูง
                         O15: ภาครัฐใหความสําคัญกับการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต
                         O16: รัฐบาลกําหนดนโยบายการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใตอยางยั่งยืน โดยกําหนดพื้นที่
                         จังหวัดสุราษฎรธานีใหเปนพื้นที่เศรษฐกิจที่มุงเนนการลงทุนเพื่อสรางพื้นที่เศรษฐกิจใหมที่จะสรางโอกาสแกประชาชนและภาคธุรกิจในการสรางรายได
                         O17: รัฐกําหนดใหจังหวัดสุราษฎรธานีเปนเมืองสมุนไพร (SuratthaniHerbal City) 1 ใน 4 ของประเทศ
                         O18: รัฐสงเสริมใหปลูกพืชเศรษฐกิจเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156