Page 155 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 155
152
3. การวิเคราะหเพื่อหาเปาหมายการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Industry Matrix)
จังหวัดมีฐานทรัพยากรที่สามารถสรางความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจในหลายดาน ซึ่งถาพิจารณา จากการ
วิเคราะหอุตสาหกรรมเพื่อหาเปาหมายการพัฒนา ซึ่งใชเกณฑ 2 เกณฑในการวิเคราะห ไดแก (1) การสรางรายให
จังหวัดโดยพิจารณาจากสัดสวนของอุตสาหกรรมนั้นๆ ในผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) และ (2) การกระจาย
รายไดสูประชาชน โดยพิจารณาจากสัดสวนของประชากรในจังหวัดที่มีอาชีพเกี่ยวของโดยตรงในอุตสาหกรรมนั้นๆ
โดยอุตสาหกรรมที่ควรจะเปนเปาหมายในการพัฒนาควรจะเปนอุตสาหกรรมที่สามารถสรางรายไดกับจังหวัดใน
สัดสวนสูงและมีประชาชนเขาไปประกอบอาชีพมีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับอุตสาหกรรมนั้นๆ จํานวนมาก ซึ่งผลการ
วิเคราะหชี้ใหเห็น อุตสาหกรรมยางพาราและอุตสาหกรรมปาลมน้ํามัน (การผลิตพื้นฐานและการแปรรูป) เปน
อุตสาหกรรมที่จังหวัดสุราษฎรธานีควรพิจารณาเปนเปาหมายการพัฒนาอันดับหนึ่ง เปาหมายการพัฒนาใน
ลําดับรองลงมา ขึ้นอยูกับนโยบายการพัฒนาวาจะเนนเปาหมายทางเศรษฐกิจเปาหมายใด (ระหวางการกระจาย
รายไดหรือการสรางรายไดใหกับจังหวัด) ซึ่งในกรณีจังหวัดสุราษฎรธานี จะเห็นวา ถาเนนเปาหมายการกระจาย
รายได อุตสาหกรรมที่ควรถูกเลือกเปาหมายการพัฒนา คือ การผลิตผลไม (เงาะ ทุเรียน มังคุดและลองกอง) และ
อาหารทะเล แตถาเนนเปาหมายการสรางรายไดใหกับจังหวัด อุตสาหกรรมที่ควรถูกเลือกเปนเปาหมายการพัฒนา
คือ อุตสาหกรรมทองเที่ยว แตเนื่องจากจังหวัดสุราษฎรธานีเนนเปาหมายการพัฒนาทั้งสองเปาหมาย ดังนั้น จึงเลือก
ทั้ง การผลิตผลไม อาหารทะเล และการทองเที่ยว
การวิเคราะห์เป้ าหมายการพัฒนา (Industry Matrix)
การสร้างรายได้ให้จังหวัด
(GPP Growth)
ตํ�า กลาง สูง
ยางพารา
สูง ความสําคัญ
ลําดับ 1
การกระจายรายได้สู่ประชาชน (Income Distribution) กลาง ปศุสัตว์ อาหารทะเล ความสําคัญ
ปาล์มนํ�ามัน
ไม้ผล
ท่องเที�ยว
ข้าว
เหมืองแร่ ลําดับ 2
ตํ�า