Page 73 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 73

70


                   2557 เหลือ 13,647.09 บาทตอไรในป 2561 หรือลดลงรอยละ 4.17 ตอป สงผลใหตนทุนการผลิตตอหนวย

                   ลดลงจาก 63.82 บาทตอกิโลกรัมในป 2557 เหลือ 56.39 บาทตอกิโลกรัมในป 2561 หรือลดลงรอยละ 3.55 ตอป
                          สถานการณการผลิตยางพาราจังหวัดสุราษฎรธานี

                          ป 2561 มีเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกร ทั้งสิ้น 82,437 ครัวเรือน สถาบัน

                   เกษตรกรชาวสวนยาง 47 กลุม และสมาชิกจํานวน 21,214 ราย มีเนื้อที่กรีดได ลดลงจาก 2.19 ลานไร
                   ในป 2560 เปน 2.17 ลานไร คิดเปนรอยละ 2.33 ขณะที่ผลผลิตและผลผลิตเฉลี่ยตอไร เพิ่มขึ้นจาก 5.78

                   แสนตัน และ 263 กิโลกรัมตอไร ในป 2560  เปน 5.80 แสนตัน 267 กิโลกรัมตอไร คิดเปนรอยละ 0.46 และ

                   รอยละ 1.52 ตามลําดับ
                           ป          พื้นที่ยืนตน/   เนื้อที่กรีดได   ผลผลิต        ผลผลิตเฉลี่ย   ราคาเฉลี่ย

                                       เพาะปลูก (ไร)       (ไร)           (ตัน)         (กก./ไร)    (บาท/กก.)

                          2559          2,567,166        2,265,055        572,472          253           51.02
                          2560          2,450,242        2,195,970        578,277          263           58.55

                          2561          2,393,126        2,175,699        580,912          267           41.75

                   ที่มา : สถิติการเกษตรของประเทศไทย ป 2561 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
                   มูลคาสถานการณยางพาราจังหวัดสุราษฎรธานี


                                                                                         มูลคาผลผลิตตามราคา
                                               ผลผลิต           ราคาที่เกษตรกรขายได
                                ป                                                         ที่เกษตรกรขายได
                                               (ตัน)                บาท/กก.
                                                                                               (บาท)

                               2559           572,472                 51.02                       29,207,521.44
                               2560           578,277                 58.55                       33,858,118.35

                               2561           580,912                 41.75                        24,2530,076
                           ที่มา : สถิติการเกษตรของประเทศไทย ป 2561 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

                   โรงงานยางและผลิตภัณฑยาง ในจังหวัดสุราษฎรธานี
                          ประกอบดวย การแปรรูปยางพาราและผลิตภัณฑ เชน การผลิตยางแทง TTR การผลิตยางแทง STR
                   20 และยางแผนรมควัน รองลงมาไดแก น้ํายางขน ยางสกริมเครฟ ยางสกริมบล็อก ตามลําดับ ปจจุบันมีเงิน

                   ลงทุน 7,708.82 ลานบาท จํานวนโรงงานทั้งสิ้น 74 โรงงาน คนงาน 6,873 คน รายละเอียดดังตาราง

                                                                      จํานวน         เงินลงทุน          คนงาน
                                        ประเภท
                                                                      โรงงาน         (ลานบาท)           (คน)

                     ทํายางแผนรมควัน ยางเครฟ ยางแทง TTR ยางคอม        69            5,054.07           4,906

                     ปาวด ยางอัดกอน

                     ผลิตภัณฑอื่นๆ ไดแก ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย        5            2,654.75           1,967

                   ที่มา : สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสุราษฎรธานี, 18 กันยายน 2562
                   ขอมูลกําลังการผลิตยางแผนรมควัน ยางเครฟ ยางแทง TTR ยางคอมปาวด ยางอัดกอน  และผลิตภัณฑ

                   จากยางพารา ป 2561 ของจังหวัดสุราษฎรธานี
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78