Page 75 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 75

72


                                 ประเด็นปญหา                                   แนวทางพัฒนา

                                                               ในประเทศอยางตอเนื่อง เชน การทําถนนยางพารา ภาครัฐ
                                                               ควรกําหนดเงื่อนไขหลักเกณฑในการพิจารณาจัดสรร

                                                               งบประมาณในการดําเนินการทําถนนยางพาราใหแตละทองถิ่น

                   ดานการบริหารจัดการ
                   1. เกษตรกรขาดการดูแล/การจัดการสวนที่ดี      1. สงเสริมใหเกษตรกรทําอาชีพเสริมในสวนยางพาราเพื่อเพิ่ม

                   เนื่องจากราคาผลผลิตที่ตกต่ํา                รายได เชน การเลี้ยงแพะ เลี้ยงโค เลี้ยงไก เลี้ยงผึ้ง ฯลฯ

                   2. เกษตรกรปลูกแบบเชิงเดี่ยว                 2. สงเสริมการปลูกพืชแซมในสวนยางพารา เชน ปลูกขาว
                                                               3. ปรับระบบสวนโดยลดจํานวนตนตอไร เพิ่มพืชรวม/

                                                               ปศุสัตวรวมยาง และสงเสริมใหเกษตรกรโคนยางเกา ยางที่

                                                               ใหผลผลิตนอย ฯลฯ ปลูกแทนดวยพืชเศรษฐกิจ โดย
                                                               ปรับเปลี่ยนชนิดพืชใหเหมาะสมกับพื้นที่

                   ที่มา: จากการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณจังหวัดสุราษฎรธานี วันที่ 14 พ.ค. 2561
                   สถานการณปาลมน้ํามัน

                          ของโลก

                                ป 2556/57 - 2560/61 ผลผลิตน้ํามันปาลมของโลกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นรอยละ 3.71 ตอป จาก

                   สถานการณภัยแลงเริ่มคลี่คลาย สงผลใหป 2560/61 มีผลผลิตน้ํามันปาลม 69.28 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก 65.26
                   ลานตัน ในป 2559/60 รอยละ 6.16 โดยในป 2560/61 อินโดนีเซียผลิตน้ํามันปาลมได 38.50 ลานตันเพิ่มขึ้น

                   จาก 36.00 ลานตัน ในป 2559/60 รอยละ 6.94 สวนมาเลเซียสามารถผลิตน้ํามันปาลมได 19.68 ลานตัน

                   เพิ่มขึ้นจาก 18.86 ลานตัน ในป 2559/60 รอยละ 4.35 ทั้งสองประเทศมีสัดสวนการผลิตรอยละ 83.98 ของ
                   ผลผลิตน้ํามันปาลมโลก สําหรับไทยผลิตไดเปนอันดับที่ 3 ของโลกและสามารถผลิตได 2.70 ลานตัน คิดเปน

                   สัดสวนรอยละ 3.90 ของผลผลิตน้ํามันปาลมโลก
                          การตลาด

                          ความตองการใชน้ํามันปาลมของโลกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นรอยละ 2.99 ตอป โดยป 2560/61 มีความ

                   ตองการใชน้ํามันปาลม 64.94 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก 61.50 ลานตัน ในป 2559/60 รอยละ 5.59 เนื่องจาก
                   น้ํามันปาลมเปนพืชน้ํามันที่มีราคาถูกที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับพืชน้ํามันอื่น สงผลใหความตองการใชน้ํามัน

                   ปาลมเพื่อการบริโภคและเพื่อพลังงานทดแทนเพิ่ม มากขึ้น โดยในป 2560/2561 ประเทศที่ใชน้ํามันปาลม
                   มากที่สุด คือ อินโดนีเซีย 10.49 ลานตัน รองลงมาไดแก อินเดีย 9.40 ลานตัน สหภาพยุโรป 6.55 ลานตัน และ

                   จีน 5.10 ลานตัน ตามลําดับ

                          ป 2556/57 - 2560/61 ปริมาณสงออกน้ํามันปาลมของโลกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นรอยละ 2.77 ตอป โดย
                   ป 2560/61 มีปริมาณการสงออก 48.75 ลานตัน ลดลงจาก 48.92 ลานตัน ในป 2559/60 รอยละ 0.35

                   เนื่องจากอินโดนีเซียสงออกน้ํามันปาลมลดลง 0.63 ลานตัน เมื่อเทียบกับปที่ผานมา และหันไปใช

                   ภายในประเทศเพิ่มขึ้น 1.33 ลานตัน ประเทศผูสงออกน้ํามันปาลมที่สําคัญ ไดแก อินโดนีเซีย 27.00 ลานตัน
                   และมาเลเซีย 16.47 ลานตัน ตามลําดับ ทั้งสองประเทศรวมกันมีสัดสวนการสงออกรอยละ 89.16 ของการ

                   สงออกโลก
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80