Page 74 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 74

71



                                                                       กําลังการผลิต
                     ลําดับ      ประกอบกิจการ                                                           หนวย
                                                        ป 2558     ป 2559      ป 2560     ป2561


                       1    ทํายางแผนรมควัน ยางเครฟ    1,085,516    1,990,947    2,011,268  5,054.07   ตัน/ป
                            ยางแทง TTR ยางคอมปาวด
                            ยางอัดกอน

                       2    ผลิตภัณฑอื่น ๆ ไดแก ถุงมือยาง   2,351    2,576        4,396  2,654.75  ลานชิ้น/ป
                            ถุงยางอนามัย
                   ที่มา : สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสุราษฎรธานี, 18 กันยายน 2562

                   ปญหาและแนวทางพัฒนายางพารา

                                 ประเด็นปญหา                                   แนวทางพัฒนา
                   ดานการผลิต

                   1. ผลผลิตตอไรต่ํา เนื่องจาก เกษตรกรปลูก   1. สนับสนุนใหมีการปลูกยางพาราในพื้นที่ที่เหมาะสม
                   ยางพาราในพื้นที่ไมเหมาะสม การจัดการสวน      ควบคุมและลดพื้นที่การปลูกยาง

                   โรครากยาง ประกอบกับฝนตกชุกทําใหมี วันกรีดนอย

                   2. ตนทุนการผลิตสูง เนื่องจาก ปจจัยการผลิตมี  1. สงเสริมใหเกษตรกรใสปุยตามคาวิเคราะหดิน และ
                   ตนทุนตอหนวยสูง เชน คาปุย คาจางแรงงาน ฯลฯ  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมผสมปุยใชเองเพื่อลดตนทุน

                                                               การผลิต

                                                               2. สงเสริมการใชปุยอินทรีย โดยการรวมกลุมผลิต
                                                               ปุยอินทรียใชเอง

                   3. เกษตรกรผลิตยางไมมีคุณภาพ (ยางแผน/      1. สงเสริมใหความรูแกเกษตรกรในการผลิตยางคุณภาพ
                   ยางกอนถวย/น้ํายางสด)                      2. ภาครัฐควรมีมาตรการภาคบังคับในการควบคุมเรื่องการ

                                                               ผลิตยางคุณภาพ และใหมีการตรวจสอบขอมูลยอนกลับถึง

                                                               แหลงผลิต รวมถึงการกําหนดใหมีบทลงโทษสําหรับผูที่ผลิต
                                                               ยางไมมีคุณภาพ

                   4. ขาดแคลนแรงงาน เนื่องจาก เกษตรกรรุนใหม  1. สรางแรงจูงใจใหเกษตรกรรุนใหมรักในอาชีพการทําสวน

                   ไมใหความสนใจอาชีพการทําสวนยางพารา ตอง    ยางพารา
                   อาศัยแรงงานตางชาติ

                   ดานการแปรรูป

                   1. การแปรรูปผลิตภัณฑจากยางพารามีตนทุนการ 1. สงเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑที่ตรงกับความตองการของตลาด
                   ผลิตสูง และการขอมาตรฐานการรับรอง เชน ISO  2. มีการศึกษาวิจัยนวัตกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑจากยางพารา

                   มีขั้นตอนยุงยากและใชเวลานาน               ใหมๆ

                   ดานการตลาด
                   1. ราคาตกต่ํา เนื่องจากปริมาณผลผลิตมากกวา  1. สงเสริมการใชยางพาราภายในประเทศเพิ่มขึ้น โดย

                   ปริมาณความตองการใช                        ภาครัฐมีนโยบาย/มาตรการในการสงเสริมการใชยางพารา
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79