Page 118 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 118

115


               ไดแก กลวยไมนารีชองอางทอง (Paphiopedilum niveum :ชื่อวิทยาศาสตร) สิ่งมีชีวิตที่อยูในสถานภาพใกล

               สูญพันธุ ไดแก  นกเงือกดํา (Anthracoceros malayanus :ชื่อวิทยาศาสตร) สถานภาพใกลถูกคุกคาม
               เชน นกออก (Haliaeetus laucogaster :ชื่อวิทยาศาสตร) นกลุมพูขาว (Ducula bicolor :ชื่อวิทยาศาสตร)


                       พื้นที่ปาชายเลนในจังหวัดสุราษฎรธานีพบมากที่สุดบริเวณอาวบานดอน ขึ้นเปนแนวแคบๆ ประมาณ
               50-100 เมตรจากฝงทะเลและตามริมลําแมน้ําตาปและลําน้ําสาขา พืชที่พบ เชน โกงกางใบใหญ โกงกางใบเล็ก

               แสม ลําพู ลําแพน ถั่วขาว เปนตน การเพิ่มขึ้นของพื้นที่ปาในจังหวัดจังหวัดสุราษฎรธานีในชวงระยะเวลา 5 ป

               นั้น พบวา ปาชายเลนมีพื้นที่เพิ่มขึ้นจาก 74.52 ตารางกิโลเมตร ในป พ.ศ. 2552 เปน 76.53 ตารางกิโลเมตร
               ในปพ.ศ. 2557 หรือคิดเปนอัตราที่เพิ่มขึ้นรอยละ 2.69 ตารางกิโลเมตร อัตราเฉลี่ยปละ 67.36 ตาราง

               กิโลเมตร พื้นที่ปาชายเลนของตําบลลีเล็ด นับวาเปนพื้นที่ที่อุดมสมบูรณที่สุดในจังหวัดสุราษฎรธานี เพราะ

               ในชวง 3 ปที่ผานมา พื้นที่ของปาชายเลนไดขยายเพิ่มขึ้นจํานวน 3,000 ไรโดยที่ไมตองปลูก เพียงแตมีการเฝา
               ระวังไมใหมีการทําประมงผิดกฎหมายในพื้นที่ และผลจากการที่พื้นที่ปาเพิ่มขึ้น ทําใหทรัพยากรสัตวน้ําเพิ่มขึ้น

               ดวย ชวยใหชาวบานที่ทําประมงชายฝงมีรายไดที่เพิ่มขึ้น (สถาบันการทองเที่ยวโดยชุมชน)
                       พื้นที่ปาชายเลนเปรียบเทียบ ภาค กลุมจังหวัด และจังหวัด (ตร.กม.)

               กลุมจังหวัด/จังหวัด        2543          2547          2552         2557       เพิ่มขึ้น/ลดลง


               ภาคใต                     1,360,489.0   1,527,930.9
               กลุมจังหวัดฝงอาวไทย     158,821.0     291,613.2

               กลุมจังหวัดฝงอันดามัน     1,412.54      1,371.32

                   สุราษฎรธานี                34.89         83.51     74.52       76.53          2.69

               ที่มา: ขอมูลป 2543 -2547 กรมปาไม (ประมวลผลโดยสํานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคใต สศช.)
                              ขอมูลป 2552-2557 ตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจังหวัด (Benchmarking

                       แมวาปาชายเลนของจังหวัดสุราษฎรธานีจะมีปริมาณเพิ่มขึ้น แตปญหาในพื้นที่ปาชายเลน ก็มีการ
               ทวีความรุนแรงขึ้นอยางรวดเร็วเชนกัน ทั้งจากภัยธรรมชาติและการกระทําของมนุษย โดยเฉพาะการทํา

               ประมงทะเลที่เกินกวาศักยภาพการผลิต (Overfishing) และการทําประมงผิดกฎหมาย รวมทั้งกิจกรรมตางๆ

               ที่เกิดขึ้นบริเวณชายฝงทะเลในชวงที่ผานมาจนถึงปจจุบัน เชน การทํานากุง การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง การ
               กอสรางสาธารณูปโภค และกิจกรรมการผลิตที่ปลอยของเสียลงสูทะเล ฯลฯ สงผลกระทบอยางรายแรงตอ

               สภาพพื้นที่ปาชายเลนที่มุงหวังจะอนุรักษไวเปนแหลงทรัพยากรชายฝงที่สําคัญของประเทศ และสงผลใหเกิด
               การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทางทะเลและชายฝงทะเลเกิดความเสื่อมโทรมที่รุนแรงขึ้น และลดความอุดม

               สมบูรณลงของปาชายเลน แหลงปะการัง และหญาทะเล สงผลตอเนื่องถึงการทําประมงชายฝงถึงการลดลง

               ของชนิดและขนาดของสัตวน้ําที่จับได เปนตน มีผลกระทบตอเนื่องตอมูลคาการผลิตในสาขาการประมง
               รวมทั้งผลกระทบตออาชีพและรายไดของชาวประมงโดยเฉพาะชาวประมงพื้นบานตามไปดวย
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123