Page 117 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 117

114


                       (1) ปญหา

                          สภาพปญหาการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมของจังหวัดสุราษฎรธานี สวนใหญเปนการบุกรุก
               พื้นที่ปาเพื่อยึดถือครอบครองปลูกพืชผลอาสิน จําพวก ยางพารา และปาลมน้ํามัน เนื่องจากราคาผลผลิตทั้ง

               ปาลมน้ํามัน และยางพาราบางชวงมีราคาสูง ความตองการที่ดินของราษฎรจึงเพิ่มมากขึ้น การอพยพถิ่นที่อยู

               อาศัยของราษฎร การบุกรุกพื้นที่ปาเพิ่มมากขึ้น สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมกอใหเกิดสภาวะโลกรอน เกิดภัย
               พิบัติทางธรรมชาติอยางรุนแรง


               ตารางสถิติคดีปาไมของจังหวัดสุราษฎรธานี
                              คดีที่เกิดขึ้น (คดี)   ตรวจยึดไมกระยาเลย    ตรวจยึดไมแปรรูป   พื้นที่ปาที่ถูกบุกรุก  จํานวน
                  ป   ไมหวง บุกรุก  สัตวปา  ของปา  รวม  ตน  ทอน  ปริมาตร  แผน  เหลี่ยม  ซีก  ปริมาตร   ไร   งาน   ตร.   ผูตองหา
                       หาม   ปา                                                                       วา   (คน)
                2557    84    330   39    -    453  48  686   832.53  3,001   -     -   68.28  2,452  3   34   125
                2558    41    417   22   12    492   -   228   244.79  1,544   -    -   54.13  4,501  2   34   77
                2559    30    378   11    6    452   -   221   148.69  1,118   -    -   34.52  4,609  0   25   38

                2560    30    182   4     -    216   -   291   448.00   536   -     -   34.04  1,813  3   77   30
               ที่มา : สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสุราษฎรธานี,  2560
               2.5.2 ทรัพยากรชีวภาพและนิเวศวิทยาทางทะเล

                       พื้นที่ทางทะเลและชายฝงจังหวัดสุราษฎรธานี ครอบคลุมพื้นที่ 9 อําเภอ ไดแก อําเภอทาชนะ อําเภอ
               ไชยา อําเภอทาฉาง อําเภอพุนพิน อําเภอเมืองสุราษฎรธานี อําเภอกาญจนดิษฐ อําเภอดอนสัก อําเภอเกาะสมุย

               และอําเภอเกาะพะงัน มีความยาวชายฝงทะเลทั้งหมดประมาณ 157.17 กิโลเมตร พื้นที่รวม 13,079.61 ไร มี
               สภาพแวดลอมทางทะเลที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง มีระบบนิเวศนทั้งปาชายเลน หาดหิน หาดทราย

               หญาทะเล ปะการัง สัตวทะเล หายากและใกลสูญพันธุ มีพื้นที่ปาชายเลน (ป 57) ทั้งหมด 92,840.62 ไร โดย

               เปนปาชายเลนคงสภาพ 47,829.71 ไร และแปลงสภาพเปนพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา 28,221 ไร พื้นที่อื่นๆ
               16,789.91 ไร พื้นที่แนวปะการัง 4 กลุมเกาะ ไดแก กลุมเกาะเตา กลุมเกาะพะงัน กลุมเกาะสมุย และหมูเกาะ

               อางทอง  36,170 ไร สภาพสมบูรณดีมากถึงเสียหายมาก พื้นที่แหลงหญาทะเล 17,820 ไร แหลงหญาทะเลที่
               สําคัญ ไดแก อาวบานดอน เกาะนกตะเภา อาวนางกํา เกาะพะงัน เกาะสมุย เกาะเตา,820.36 ไร และพบสัตว

               หายากและใกลสูญพันธุ จากขอมูล พ.ศ.2558 เชน พะยูน  เตาทะเล และโลมา (ขอมูล สถานการณดาน

               ทรัพยากรทางทะเลและชายฝงแลการกัดเซาะชายฝงของประเทศไทย พ.ศ. 2560)

                       พื้นที่ปาชุมน้ําเขตอุทยานแหงชาติหมูเกาะอางทอง ประกอบดวยเกาะตางๆ ประมาณ 42 เกาะที่มี

               ขนาดเล็กและขนาดกลาง อยูเปนกลุมเกาะกลางทะเล วางเรียงตัวในแนวเหนือ – ใต สวนใหญเปนเขาหินปูนสูง
               ชันซึ่งเปนแนวหนาผาสูงชันตั้งดิ่งจากพื้นที่น้ํา ทะเล พื้นที่อุทยานฯ ประกอบดวยพื้นน้ําประมาณ 52,000 ไร

               หรือประมาณรอยละ 82 ของพื้นที่ทั้งหมด อยูในเขตน้ําตื้นใกลฝง มีความลึกเฉลี่ยของน้ําประมาณ 10 เมตร

               และไดรับอิทธิพลของตะกอนจากแมน้ําตาป ลักษณะชายฝงมีความสูงชัน มีแนวปะการังกอตัวเปนแนวแคบๆ
               ชายฝง ห27มูเกาะอางทองประกอบดวยพื้นที่ชุม น้ําหลายรูปแบบ เชน หาดทราย หาดหิน ปาชายเลน และแนว

               ปะการัง เปนแหลงที่มีความหลากหลายทางชีวภาพของพืช และสัตวโดยบางชนิดจัดเปนชนิดพันธุเฉพาะถิ่น
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122