Page 112 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 112

109


               คลอง พัฒนาอัตลักษณใหมีความโดดเดน  นอกจากนี้จะตองพัฒนาเรื่อง FOOD SAFETY และรานอาหาร๕

               ดาว เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแกนักทองเที่ยว  รวมถึงสิ่งอํานวยความสะดวกเชน การคมนาคม การขนสง
               โครงสรางทางดานการทองเที่ยวเชน จุดเช็คอิน การบอกเสนทางทองเที่ยว ฯลฯ

               ประเด็นปญหาสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎรธานี

               การตายมารดาไทย
               สถานการณ

                         จากสถานการณการดําเนินงานที่ผานมาอัตราสวนการตายมารดาของประเทศไทยจากการสํารวจ

               ของสํานักสงเสริมสุขภาพกรมอนามัย พบวา ป พ.ศ. 2559 ,2560 และ ๒๕๖๑ อัตราสวนการตายมารดาตอ

               การเกิดมีชีพแสนคนเทากับ  26.6 ,18.4 และ ๑๗.๙ ตามลําดับ แสดงใหเห็นวาสถานการณการตายมารดาของ

               ประเทศไทยมีแนวโนมลดลงอยางชาๆ และสถานการณอัตราสวนการตายมารดาในเขตบริการสุขภาพที่ 11

               จากป 255๙ –256๑ คิดเปนอัตรา 26.35 , ๒๖.๖๘ และ ๑๔.๑๖  ตามลําดับซึ่งมีแนวโนมลดลง

                         สถานการณและสภาพปญหาของจังหวัดสุราษฎรธานี อัตราสวนการตายมารดาจากป 255๙-

               256๑ คิดเปนอัตรา 46.89, 39.50 และ ๒๒.๒๐ ตามลําดับ (เกณฑไมเกิน 20 ตอการเกิดมีชีพแสนคน) โดยมี
               อัตราลดลง ในปงบประมาณ 256๒ ผลการดําเนินงานเดือนตุลาคม 256๑ – มกราคม 256๒ อัตราสวนการ

               ตายมารดาเทากับ 45.64 จากการวิเคราะหขอมูล 3 ปพบวา กระบวนการการดูแลในระยะตั้งครรภใน
               ปงบประมาณ 255๙-256๑ และ 256๒(ต.ค.๖๑–ม.ค.๖๒)พบวามีรอยละการฝากครรภครั้งแรกอายุครรภนอย

               กวา หรือเทากับ 12 สัปดาห คิดเปนรอยละ 67.92,64.72,6๔.๕๐ และ ๗๔.๙๘ ตามลําดับ  (เปาหมาย ≥ รอย

               ละ 60) และการฝากครรภครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ เปนอัตราที่ลดต่ําลง เมื่อเทียบจาก ป 255๙– 256๑ คิดเปน
               รอยละ 54.43,45.38,๔๗.๖๒ และ ๖๑.๕๐ ตามลําดับ (เปาหมาย ≥ รอยละ 60) หญิงตั้งครรภที่มาฝากครรภ

               มีภาวะโลหิตจางในป 255๙– 256๑ คิดเปนรอยละ23.49,24.14, 23.28และป 256๒ (ต.ค.๖๐–ม.ค.๖๒)คิด

               เปนรอยละ20.20(เปาหมาย ≤รอยละ๑8) ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้นและขอมูลจํานวนมารดาเสียชีวิตจากสาเหตุ
               ภาวะตกเลือดหลังคลอดในป 255๙– 256๑ จํานวน3 ราย, 3 ราย,๐รายตามลําดับและ ป 256๒(ต.ค.๖๑–

               ม.ค.๖๒)จํานวน ๐ราย และจํานวนมารดาเสียชีวิตจากสาเหตุความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภในป 255๙– 256
               ๑  จํานวน1 ราย,1 รายและ ๐ รายตามลําดับและป 256๒ ( ตค.๖๑–มค.๖๒) จํานวน ๑รายผลการดําเนินงาน

               ป ๒๕๖๒ ( ตค.๖๑–มค.๖๒) พบวามีมารดาเสียชีวิต  จํานวน ๒ ราย รายที่ ๑ มารดาเสียชีวิตวันที่ 9 ตุลาคม

               2561 การวินิจฉัยโรคคือ Cardiac arrest  with  Congestive heart failure with Severe  PIH รายที่ 2
               การวินิจฉัยโรคคือ Acute respiratory failure  with Sepsis   จากวิเคราะหสภาพปญหาอัตราสวนการตาย

               มารดา๓ ปมีแนวโนมลดลงแตยังพบปจจัย ที่เกี่ยวของกับสาเหตุการตายของมารดาไดแก การเขาถึงบริการ,
               มาตรฐานบริการ,ระบบการสงตอ ซึ่งวิเคราะหสาเหตุการตายของมารดาพบวามาจากภาวะแทรกซอนชวง

               ระหวางตั้งครรภ คลอดและหลังคลอดไดแก ภาวะ PPH และ PIH  อีกสาเหตุสวนหนึ่งเสียชีวิตจากสาเหตุโรค

               ทางอายุรกรรม และศัลยกรรมเชนโรคหัวใจ, การผาตัดโรคประจําตัว เปนตน  จึงตองมุงเนนการทบทวน
               สาเหตุการตายของมารดาเพื่อวางแผนพัฒนาระบบการดูแลมารดาตั้งครรภและหลังคลอดใหมีประสิทธิภาพ

               ยิ่งขึ้นโดยเฉพาะระบบการคัดกรองภาวะเสี่ยงหรือโรคทางอายุรกรรมและการจัดการรายบุคคลและทบทวน
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117