Page 113 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 113

110


               ระบบการดูแลรักษาขณะตั้งครรภรวมถึงการที่หนวยงานของรัฐตองใหความสําคัญวางกลยุทธการวางแผนการ

               ดําเนินงานทั้งเชิงรุกและเชิงรับการคนหาหญิงตั้งครรภใหมีการเขาถึงบริการการอบรมเพิ่มทักษะความรูแก
               เจาหนาที่ในการดูแลหญิงตั้งครรภเพื่อใหการดําเนินงานอนามัยแมและเด็กบรรลุวัตถุประสงคลูกเกิดรอดแม

               ปลอดภัยรักษาในระหวางการคลอดและ หลังคลอดสะทอนใหเห็นถึงดานพฤติกรรมสุขภาพความรูความเขา

               ใจความตระหนักในการปฏิบัติตัว
               คลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ป

               สถานการณ

                         การตั้งครรภในวัยรุน เปนภาวะวิกฤตทางสังคมที่สงผลกระทบทั้งในดานสุขภาพรางกายและจิตใจ
               จากขอมูลรายงานการคลอดของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในจังหวัดสุราษฎรธานี  ยอนหลัง ๓ ป

               ในป พ.ศ. ๒๕๕๙ ,๒๕๖๐,๒๕๖๑ พบวาอัตราการคลอดบุตรในมารดาอายุ ๑๕-๑๙ ป พบรอยละของอัตรา

               การคลอดที่สูง ดังนี้ ๙.๘๔,๑๙.๑๘ และ ๑๘.๒๘ ตามลําดับ  โดยในไตรมาสแรกของปงบประมาณ ๒๕๖๒ มี
               อัตราการคลอดรอยละ ๓.๔๑ (อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ ๑๕-๑๙ป ไมเกิน ๔๒ ตอพันประชากร) ซึ่ง

               สอดคลองกับการดําเนินงานในระดับเขตสุขภาพที่ ๑๑ และระดับประเทศ  นอกจากนี้ยังพบวา วัยรุนมีการ

               ตั้งครรภซ้ําในแมอายุต่ํากวา ๒๐ ป ในป ๒๕๕๙-๒๕๖๑ คิดเปนรอยละ ๒๒.๐๖, ๒๒.๓๔,๒๑.๘๑ ตามลําดับ
               โดยในปงบประมาณ ๒๕๖๒ ไตรมาสที่ 1  พบรอยละของการตั้งครรภซ้ํา ๒๐.๓๙ ซึ่งมีแนวโนมที่ลดลงเล็กนอย

               ทั้งนี้อาจเปนผลมาจากการดําเนินกิจกรรมสรางเสริมความรูความเขาใจและการรณรงคของเครือขายสุขภาพ
               มาระยะหนึ่ง แตยังคงมีความกังวลอยูมาก ดังนั้นเชื่อวาหากมีการดําเนินกิจกรรมอยางเขมขนสถานการณจะคลี่คลายไปในที่สุด

               พัฒนาการเด็ก

               สถานการณ

                         จากรายงานการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยจังหวัดสุราษฎรธานี พบเด็กชวงอายุ 0-๕ ป
               ไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ในปงบประมาณ 2559, 2560, 2561 และ 2562 ในชวงไตรมาส 1 คิดเปน

               รอยละ 77.56, 70.72, 71.53 และ 85.13 ตามลําดับ พัฒนาการสงสัยลาชา คิดเปนรอยละ 21.99, 20.79,

               25.91 และ 24.30 เด็กพัฒนาการสงสัยลาชา ไดรับการติดตาม คิดเปนรอยละ 31.55, 61.03, 84.49 และ
               82.87 เด็กพัฒนาลาชา ไดรับการกระตุนพัฒนาการดวย TEDA4I ในป 2562 ชวง ไตรมาสที่ 1 คิดเปนรอยละ

               33.33 เด็กอายุ 0-5 ปสูงดีสมสวน ในปงบประมาณ 2559 - 2561 และ 2562 ในชวงไตรมาสที่ 1 คิดเปนรอย
               ละ 46.31, 47.79, 51.83 และ 51.00 ตามลําดับ (ขอมูลจาก HDC ณ วันที่ 7 ก.พ. 62) โดยจังหวัดสุราษฎร

               ธานี ในชวงไตรมาสที่ 1 พบรายงาน เด็กชวงอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน มีจํานวนเด็กที่ไดรับการตรวจคัด

               กรอง ทั้ง 4 ชวงวัย จํานวน 7,156 คน มีพัฒนาการสมวัย จํานวน 6,828 คน คิดเปนรอยละ 95.42 (ขอมูล
               จาก HDC ณ วันที่ 12 ก.พ. 62)

                         จากผลการดําเนินงาน พบความครอบคลุมการตรวจคัดกรองพัฒนาการ โดยอําเภอที่มีผลการ
               ดําเนินงานมากที่สุด 3 อันดับ ไดแก อําเภอบานตาขุน คิดเปนรอยละ 97.74 อําเภอพุนพิน ภายใน คบสอ.

               พุนพิน คิดเปนรอยละ 94.33 และอําเภอเคียนซา คิดเปนรอยละ 91.71 เด็กที่ไดรับการตรวจคัดกรอง

               พัฒนาการ พบพัฒนาการสงสัยลาชา ในอําเภอที่มีผลการดําเนินงานมากที่สุด 3 อันดับ ไดแก อําเภอไชยา,
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118