Page 114 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 114

111


               อําเภอทาชนะ และอําเภอดอนสัก คิดเปนรอยละ 40.30,39.81 และ 38.29 ตามลําดับ เด็กที่มีพัฒนาการ

               สงสัยลาชา ไดรับการติดตามเพื่อกระตุนพัฒนาการ ในอําเภอที่มีผลการดําเนินงานมากสุด 3 อันดับ ไดแก
               อําเภอเกาะสมุย,อําเภอดอนสัก และอําเภอพุนพิน  คิดเปนรอยละ 100, 96.64 และ 95.19(คบสอ.พุนพิน)

               ตามลําดับ เด็กพัฒนาการลาชา ไดรับการกระตุนพัฒนาการดวย TEDA4I โดยโรงพยาบาลที่มีผลการ

               ดําเนินงานมากที่สุด 3 อันดับ ไดแก โรงพยาบาลเกาะพะงัน คิดเปนรอยละ 100 โรงพยาบาลเคียนซา คิดเปน
               รอยละ 100 โรงพยาบาลดอนสัก คิดเปนรอยละ 66.67 เด็กอายุ 0-5 ป สูงดีสมสวน ในอําเภอที่มีผลการ

               ดําเนินงานมากที่สุด 3 อันดับ ไดแก อําเภอวิภาวดี คิดเปนรอยละ 80.98 อําเภอเวียงสระ คิดเปนรอยละ

               60.16 อําเภอไชยา คิดเปนรอยละ 58.88 (ขอมูลจาก HDC ณ วันที่ 7 ก.พ. 62)
                         ตามขอมูลขางตน พบวา จังหวัดสุราษฎรธานีมีผลการดําเนินงานเด็กปฐมวัยที่ยังไมผานเกณฑ

               ประเมินในสวนของความครอบคลุมการตรวจคัดกรองพัฒนาการ เด็กพัฒนาการสงสัยลาชาไดรับการติดตาม
               เด็กพัฒนาการลาชา ไดรับการกระตุนพัฒนาการดวย TEDA4I และเด็กอายุ 0-5 ปสูงดีสมสวน โดยผลการ

               ดําเนินงานเด็กปฐมวัยที่ผานเกณฑประเมิน ไดแก เด็กที่ไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ พบสงสัยลาชา และ

               ผลการดําเนินงานที่ผานเกณฑเปาหมาย ไดแก จํานวนเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย และจากปญหา อุปสรรค
               ในเบื้องตน พบวา บุคลากรขาดความเขาใจการบันทึกขอมูลในระบบ 43 แฟม พอแม/ผูปกครอง มีปญหา

               ทางดานเศรษฐกิจ/คาเดินทาง รวมทั้งไมเขาใจการสงเสริม/กระตุนพัฒนาการ ในสวนของระบบขอมูลพบวา
               ยังไมมีการบันทึกขอมูลในระบบ 43 แฟม ไมมีระบบติดตามเด็กพัฒนาการลาชาที่ชัดเจน เมื่อสงตอเด็กแลว

               ไมมีการนัดมาดูแลตอเนื่อง

               2. การวิเคราะหขอมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

                       จังหวัดสุราษฎรธานี นับวาเปนจังหวัดหนึ่งทางภาคใตทางอาวไทยตะวันออกที่มีฐาน
               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่หลากหลายและอุดมสมบูรณ ทั้งดานทรัพยากรปาไม ดิน น้ํา และแรธาตุ

               เปนตน ซึ่งเอื้อตอการดํารงชีวิตและการอยูอาศัยของมนุษย และดวยความอุดมสมบูรณของทรัพยากรในพื้นที่
               ของจังหวัด ที่มีทั้งแมน้ํา ภูเขา ปา และทรัพยากรทางชายฝงทะเล สงผลใหเกิดการใชประโยชนจาก

               ทรัพยากรธรรมชาติอยางมากมายของมนุษย ทั้งในเรื่องของการดํารงชีวิต การประกอบอาชีพ รวมถึงการ

               ทองเที่ยว ซึ่งเปนการนําพาการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจที่สงผลกระทบตอการบริหารจัดการ
               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปจจุบันสถานการณทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของจังหวัด

               สุราษฎรธานี มีสภาพเสื่อมโทรมลงอยางเห็นไดชัด ทั้งในเรื่องของทรัพยากรปาไมที่มีการถูกบุกรุกพื้นที่จาก

               ประชาชนและนายทุนเพื่อยึดถือและครอบครองโดยไมไดรับอนุญาต การลักลอบตัดไมทําลายปา การคาสัตวปา
               โดยผิดกฎหมาย รวมถึงปญหาขยะและน้ําเสียซึ่งเปนประเด็นหลักที่กําลังเปนปญหาสําคัญที่ตองไดรับการ

               ดําเนินการและแกไขอยางเรงดวน อยางไรก็ตาม แมวาสถานการณทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจะมีการ

               เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ทั้งการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงจากการกระทําของ
               ธรรมชาติหรือมนุษย เพื่อใหเปนฐานความรูในการสรางความตระหนักและชวยกันอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

               และสิ่งแวดลอม จึงควรมีการดําเนินการแกไขปญหาอยางตอเนื่อง เพื่อเปนการปกปองและรักษา
               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหยั่งยืนตอไป
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119