Page 110 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 110

107


               ตาราง สาเหตุการปวยของผูปวยในตามกลุมโรค10 อันดับแรกของจังหวัดสุราษฎรธานี ปงบประมาณ

                                2560– 2562(อัตราตอประชากรแสนคน ) (ตอ)

                          ชื่อกลุม (298 โรค)           2560                   2561              2562(ตค.61-มค.62)


                                                จํานวน (คน)   อัตรา    จํานวน (คน)   อัตรา    จํานวน (คน)   อัตรา



               198  โรคอักเสบติดเชื้อของผิวหนังและ  2,776    263.35      3,281      309.33       755        71.18
                     เนื้อเยื่อใตผิวหนัง

                     โลหิตจางอื่นๆ

               098  ภาวะอื่นๆในระยะปริกําเนิด     2,706      256.71      2,923      275.58       623        58.73
               253  โรคจากแบคทีเรียอื่นๆ          2,326      220.66      2,561      241.45        -           -


               018                                  -           -          -          -          877        82.68




               ที่มา :  โปรแกรมคลังขอมูลดานการแพทยและสุขภาพ ( Health data center:HDC )(ณ วันที่ 31 ม.ค.62)

               หมายเหตุ : 1. การคํานวณ คิดตาม 298 กลุมโรคนับเปนครั้งตามการวินิจฉัย (10 อันดับโรคที่มารับบริการ/พบบอย)
                              2 สัญลักษณ ( - ) หมายถึงไมไดอยูในกลุมโรค 10 อันดับแรก


                              สาเหตุการปวยของผูปวยในอันดับแรกของจังหวัดสุราษฎรธานีไดแก  โรคปอดบวมคิดเปน
               อัตรา  602.80และ  696.46  ตอประชากรแสนคน  ในป  2560  และป  2561  รองลงมาไดแกหลอดลมอักเสบ

               เฉียบพลันและหลอดลมเล็กอักเสบเฉียบพลันภาวะแทรกซอนอื่นๆของการตั้งครรภและการคลอดการดูแล

               มารดาอื่นๆที่มีปญหาเกี่ยวกับทารกในครรภ และถุงน้ําคร่ําและปญหาที่อาจจะเกิดไดในระยะคลอดตามลําดับ

               สถานการณสมุนไพร

                       โครงการเมืองสมุนไพร (Herbal City) เปนหนึ่งในภารกิจสําคัญภายใตแผนแมบทแหงชาติวาดวยการ

               พัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564 ซึ่งรัฐบาลไดกําหนดใหมีการจัดตั้งเมืองสมุนไพรขึ้นใน 4
               จังหวัด ไดแก เชียงราย สกลนคร ปราจีนบุรี และ สุราษฎรธานี โดยมีหลักการสําคัญคือ การมุงเนนพัฒนา

               สมุนไพรและผลิตภัณฑแบบครบวงจรในระดับจังหวัดโยอาศัยความรวมมือของทุกภาคสวนตามแนวนโยบาย
               ประชารัฐ และยึดนโยบายสําคัญของรัฐบาล ประเทศไทย 4.0 สอดคลองกับการพัฒนาเมืองสมุนไพรจังหวัด

               สุราษฎรธานี โดยเฉพาะอยางยิ่งการสรางมูลคาเพิ่มในกลุมอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคุณภาพชีวิต (Health,
               Wellness & Bio-Med)

               สถานการณและทิศทาง การแพทยแผนไทยและสมุนไพรไทย

                       จังหวัดสุราษฎรธานี เปนจังหวัดที่มีการพัฒนาระบบแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกอยางกาว
               กระโดด ทั้งในระบบการบริหารจัดการที่ดําเนินการภายใตนโยบายสนับสนุนที่เขมแข็ง ตลอดจนมีกลไกการ

               คลังสนับสนุนการ จะเปนการเชื่อมโยงตั้งแตระดับนโยบายจากกระทรวงสาธารณสุขลงไปสูการกําหนด
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115