Page 111 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 111

108


               นโยบายในระดับจังหวัด งานการแพทยแผนไทยจึงถูกตั้งขึ้นในสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดฯ เพื่อเปน

               โครงสรางรองรับการทํางานในระดับจังหวัดตั้งแตป พ.ศ. 2551 จากการที่ในจังหวัดสุราษฎรธานีมีการ
               ใหบริการแพทยแผนไทยไมถึงรอยละ 1 และมีมูลคาการใชยาสมุนไพรเพียงรอยละ 0.2-0.3 เมื่อเปรียบเทียบ

               กับมูลคาของการใชยาทั้งหมดของจังหวัด จนในปจจุบันมีการใชยาสมุนไพรเพิ่มสูงขึ้นเปนรอยละ 16 และมี

               แนวโนมการใชสมุนไพรเพิ่มสูงขึ้นทุกป


               การดําเนินงานสุราษฎรธานีเมืองสมุนไพร ป๒๕๖๒  ไดมีหนวยงานบูรณาการจํานวน ๑๓ หนวยงานที่

               ชวยกันขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาเมืองสมุนไพร โดยไดรับงบประมาณทั้งสิ้น  9,124,600 บาท(เกาลานหนึ่งแสน

               สองหมื่นสี่พันหกรอยบาทถวน)   ซึ่งมีผลงานที่เกิดขึ้นเพื่อจะตอบสนองเปาหมายของโครงการคือ  การพัฒนา

               ผลิตภัณฑเดนจํานวน ๓ ผลิตภัณฑคือ ขมิ้นชัน  เห็ดแครง และน้ํามันมะพราว และการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ 3  เสนทาง

                       นอกจากนี้ไดมีการพัฒนาบรรจุภัณฑของผูประกอบการใหมีความโดดเดนและนาสนใจในเชิงพาณิชยเพิ่มมากขึ้น

               รวมถึงการพัฒนาระบบการตลาด SME เปาหมายใหเปนระบบมากขึ้น  การสรางแบรนดสมุนไพรคือ “มนตไพร”ซึ่งเปนแบรนดที่

               แสดงการรับรองมาตรฐาน  การพัฒนาระบบฐานขอมูลเมืองสมุนไพร การประเมินผลเมืองสมุนไพร

                       นอกจากนี้จะตองมุงเนนการแปรรูปสมุนไพรในชุมชนเพิ่มมากขึ้นเพื่อรองรับการผลิตที่เปนระบบที่

               ครบวงจรของผลิตภัณฑเดนทั้งหมด และเปนการสรางรายไดใหกับชุมชน โดยไดของบประมาณโครงการSEC

               ผานครม.แตยังไมไดรับงบประมาณซึ่งโรงแปรรูปสมุนไพรจํานวน ๘ แหงและโรงงานผลิตยาสมุนไพรสําหรับใช

               ภายนอก รวมถึงโรงผลิตชาชงผักเชียงดาของรพ.บานตาขุน การสรางศูนยบริการแพทยแผนไทยครบวงจร๕ชั้น

               เพื่อรองรับนักทองเที่ยวและใหบริการแพทยแผนไทย

               สถานการณการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical Tourism)

                       การทองเที่ยวเชิงการแพทยและสุขภาพ (Medical Tourism) เปนการทองเที่ยวรูปแบบใหมที่ไดรับ

               ความสนใจจากชาวตางชาติ เนื่องจากประเทศไทยมีศักยภาพในเรื่องของการบริหารทางการแพทย ทั้งในดาน

               บุคลากรและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ตลอดจนเรื่องคาใชจายที่นอยกวาเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศคูแขงอื่นๆ

               แตสิ่งสําคัญอีกประการที่นับเปนขอไดเปรียบในแงการทองเที่ยงเชิงการแพทยและสุขภาพของประเทศไทย
               ก็คือ ไทยเปนศูนยกลางการทองเที่ยวหลัก โดยมีแหลงทองเที่ยวทางทะเล ปาไม ภูเขา ศิลปวัฒนธรรม อาหาร

               สถานบันเทิง และแหลงชอปปง ซึ่งสามารถรองรับนักทองเที่ยวที่มาใชบริการทางการแพทยไดเปนอยางดี สิ่งนี้

               เองที่ทําใหชาวตางตางชาติเดินทางมารับการรักษาพยาบาลและทองเที่ยวเปนจํานวนมาก จนสรางรายไดเขา

               ประเทศมากมายในแตละป โดยเฉพาะอยางยิ่งในจังหวัดสุราษฎรธานีซึ่งเปนจังหวัดที่มีนักทองเที่ยว

               ชาวตางชาติเขามาทองเที่ยวเปนลําดับตนๆ ของประเทศจึงเปนโอกาสดีที่จะพัฒนาการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
               ในพื้นที่จังหวัดสุราษฎรธานี


                       แนวโนม ในป ๒๕๖๓ ไดมีการมุงเนนพัฒนาเสนทางการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ โดยเสนทางแรกคือ

               เสนทางคลองรอยสาย อําเภอเมือง  ซึ่งประกอบดวย ๕ ตําบลคือ คลองฉนาก บางใบไม บางไทร บางโพธิ์ และ
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116