Page 121 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 121

118


               ในบริเวณเขื่อนรัชชประภา จํานวน 16 แหง ซึ่งเริ่มทําใหเกิดปญหาดานสิ่งแวดลอมที่เห็นไดชัด คือ ปริมาณ

               ขยะที่เพิ่มมากขึ้น ในสวนของการบําบัดน้ําเสียที่มาจากกิจกรรมของแพที่พักนั้นสวนใหญใชระบบถังบําบัดน้ํา
               เสียแบบไรอากาศ (ถังเซ็ท) ของแตละแพที่พัก ซึ่งไมมีขอมูลที่แนชัดวาทุกแพที่พักมีระบบบําบัดน้ําเสียหรือไม

               แตยังไมพบปญหาน้ําเสียจากการรองเรียน

                              ในปงบประมาณ พ.ศ.2561 สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสุราษฎรธานี
               รวมกับ อุทยานแหงชาติเขาสก ดําเนินการเก็บตัวอยางน้ําผิวดินบริเวณเขื่อนรัชชประภา จํานวน 3 ครั้ง

               จํานวน 20 สถานี (จุดเก็บ) โดยดําเนินการเก็บตัวอยางน้ํา จํานวน 3 ครั้ง (ครั้งที่ 3 อยูระหวางการสงตรวจ

               วิเคราะหในหองปฏิบัติการของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ) ผลการตรวจติดตามฯ ครั้งที่ 1 – 2 พบวา คุณภาพ
               น้ําผิวดิน เมื่อนําไปเทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดิน ทั้ง 2 ครั้ง ทุกจุดอยูในเกณฑคุณภาพน้ําผิวดิน ประเภทที่ 2 หรือดี

                              สถานการณน้ําเสียและน้ําทะเล
                              พื้นที่เกาะสมุย

                              เกาะสมุย อําเภอเกาะสมุย มีเนื้อที่ประมาณ 252 ตารางกิโลเมตร (157,273 ไร) ซึ่งเฉพาะ

               เกาะสมุย มีเนื้อที่ 227 ตารางกิโลเมตร (142,031 ไร) สวนที่เหลือเปนพื้นที่ของเกาะตาง ๆ รวมอยูดวย 18
               เกาะ มีประชากรในพื้นที่จํานวน 65,109 คน รวมกับประชากรแฝงซึ่งมีประมาณสามเทาของประชากรตาม

               ทะเบียนราษฎร และมีปริมาณนักทองเที่ยวและสถานที่พักเพิ่มขึ้นมากเรื่อยๆ มีปริมาณน้ําเสียเพิ่มขึ้นตามมา
               พื้นที่เกาะสมุยมีองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่รับผิดชอบ 1 แหง คือ เทศบาลนครเกาะสมุย ซึ่งในพื้นที่

               เกาะสมุยมีระบบบําบัดน้ําเสียรวม 3 แหง ไดแก ระบบบําบัดน้ําเสียรวมชุมชนละไม ระบบบําบัดน้ําเสียรวม

               ชุมชนหนาทอน ระบบบําบัดน้ําเสียรวมชุมชนเฉวง และกําลังยื่นของบประมาณภายใตแผนปฏิบัติการเพื่อการ
               จัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมในระดับจังหวัด ป พ.ศ. 2562 อีก 2 แหง ไดแก ระบบบําบัดน้ําเสียรวมชุมชนบอ

               ผุด และระบบบําบัดน้ําเสียรวมชุมชนหัวถนน และเทศบาลนครเกาะสมุยอยูระหวางการจัดทําระบบบําบัดน้ํา

               เสียเปน Cluster ยอยๆ รอบพรุเฉวงเพิ่มอีกจํานวน 1 แหง โดยใชงบประมาณของเทศบาลนครเกาะสมุยเอง
               ซึ่งระบบบําบัดน้ําเสียรวมที่มีในปจจุบันก็ยังไมครอบคลุมพื้นที่ทั่วเกาะสมุย ยังพบปญหาปลอยน้ําเสียลงทะเล

               มีการรองเรียนเรื่องน้ําเสียบอยครั้ง ทั้งน้ําเสียจากชุมชน สถานที่ประกอบการที่พัก สนามบิน และสถานที่กําจัด

               ขยะมูลฝอย ในสวนการจัดหาสถานที่เพื่อบําบัดน้ําเสียรวมนั้นยังคงทําไดยาก เนื่องจากมีพื้นที่คอนขางจํากัด
                              สถานการณคุณภาพน้ําทะเลบริเวณชายหาดทองเที่ยวในพื้นเกาะสมุย ในป 2560 -2561

               ซึ่งดําเนินการเก็บตัวอยางและตรวจวัดคาภาคสนามโดยเทศบาลนครเกาะสมุย และตรวจวิเคราะหใน
               หองปฏิบัติการโดยสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 14 ปละ 2 ครั้ง จํานวน 7 หาด 23 สถานี เมื่อนําไปเทียบกับคา

               มาตรฐานน้ําทะเล ประเภทที่ 4 เพื่อการนันทนาการ สรุปไดดังนี้
                              ผลการดําเนินการฯ ในป 2560 พบวา คุณภาพน้ําทะเล จํานวน 4 สถานี มีคาเกินเกณฑ

               มาตรฐานฯ โดยพารามิเตอรที่มีเกินคามาตรฐาน ไดแก คาแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมด (TCB)      คา

               แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม (FCB) และคาแบคทีเรียกลุมเอ็นเทอโรคอกไค ซึ่งสวนใหญมีสาเหตุการ
               ปนเปอนมาจากกิจกรรมของมนุษย

                              ทั้งนี้ ผลการติดตามตรวจสอบฯ ในป 2561 อยูระหวางการดําเนินการ
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126