Page 123 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 123

120


                              ผลการดําเนินการฯ ในป 2561 พบวา คุณภาพน้ําทะเล จํานวน 7 สถานี มีคาเกินเกณฑ

               มาตรฐานฯ โดยพารามิเตอรที่มีเกินคามาตรฐาน ไดแก คาแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมด (TCB) คา
               แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม (FCB) คาแบคทีเรียกลุมเอ็นเทอโรคอกไค และคาฟอสเฟต-ฟอสฟอรัส ซึ่งสวน

               ใหญมีสาเหตุการปนเปอนมาจากกิจกรรมของมนุษย

                              พื้นที่อุทยานแหงชาติหมูเกาะอางทอง
                              อุทยานแหงชาติหมูเกาะอางทอง เปนพื้นที่เกาะ ที่ตั้งอยูในอําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี

               ไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยวเขามาใชบริการเปนจํานวนมาก เปนพื้นที่ในความรับผิดชอบของอุทยาน

               แหงชาติหมูเกาะอางทอง กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช
                              สถานการณคุณภาพน้ําทะเลบริเวณชายหาดทองเที่ยว พื้นอุทยานแหงชาติหมูเกาะอางทอง

               ในป 2561 ซึ่งดําเนินการเก็บตัวอยางและตรวจวัดคาภาคสนามโดยสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
               สิ่งแวดลอมจังหวัดสุราษฎรธานี และตรวจวิเคราะหในหองปฏิบัติการโดยมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ในป 2561

               ดําเนินการเก็บตัวอยางน้ําทะเล จํานวน 3 ครั้ง (ครั้งที่ 3 อยูระหวางการดําเนินการ) จํานวน 8 สถานี พบวา

               คุณภาพน้ําทะเล ครั้งที่ 1 และ 2 ทุกสถานี มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานน้ําทะเล ประเภทที่ 4 เพื่อการนันทนาการ
               รายละเอียดสรุปไดดังตาราง

                          ประเภท                                        สถานการณ

               น้ําผิวดิน
                 แมน้ําตาป-พุมดวง          คุณภาพน้ําโดยรวมมีแนวโนมดีขึ้น

                 พื้นที่วิกฤติ คลองมะขามเตี้ย   ประเภทที่ 4 หรือเสื่อมโทรม

                 เขื่อนรัชชประภา             ประเภทที่ 2 หรือดี
               น้ําทะเล

                 พื้นที่เกาะสมุย             มีคาเกินเกณฑมาตรฐานฯ โดยพารามิเตอรที่มีเกินคามาตรฐาน ไดแก คา

                                             แบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมด (TCB) คาแบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม
                                             (FCB) และคาแบคทีเรียกลุมเอ็นเทอโรคอกไค ซึ่งสวนใหญมีสาเหตุการ

                                             ปนเปอนมาจากกิจกรรมของมนุษย

                 พื้นที่เกาะพะงัน            มีคาเกินเกณฑมาตรฐานฯ โดยพารามิเตอรที่มีเกินคามาตรฐาน ไดแก คา
                                             แบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมด (TCB) คาแบคทีเรียกลุมเอ็นเทอโรคอกไค คา

                                             ไนเตรท-ไนโตรเจน (Nitrate-Nitrogen) และคาฟอสเฟต-ฟอสฟอรัส ซึ่งสวน
                                             ใหญมีสาเหตุการปนเปอนมาจากกิจกรรมของมนุษย

                 พื้นที่เกาะเตาและเกาะนางยวน  มีคาเกินเกณฑมาตรฐานฯ โดยพารามิเตอรที่มีเกินคามาตรฐาน ไดแก คา

                                             แบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมด (TCB) และคาแบคทีเรียกลุมเอ็นเทอโรคอกไค
                                             คาแบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม (FCB) และคาฟอสเฟต-ฟอสฟอรัส ซึ่งสวน

                                             ใหญมีสาเหตุการปนเปอนมาจากกิจกรรมของมนุษย

                 พื้นที่อุทยานแหงชาติหมูเกาะอางทอง  มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานน้ําทะเล ประเภทที่ 4 เพื่อการนันทนาการ
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128