Page 120 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 120

117


                       คุณภาพน้ํา

                       สถานการณน้ําผิวดิน
                              แมน้ําตาป-พุมดวง

                              สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 14  ไดดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําแมน้ําตาป - พุมดวง

               ในป 2560 - 2561 รวม 11 สถานี (สถานีที่ 1-9 อยูในพื้นที่จังหวัดสุราษฎรธานี สวนสถานี
               ที่ 10-11 อยูในพื้นที่ของจังหวัดนครศรีธรรมราช) สามารถสรุปผลไดดังนี้

                              ผลการดําเนินการฯ ในป 2561 ดําเนินการไปแลว จํานวน 3 ครั้ง (ครั้งที่ 4 อยูระหวางการ

               ดําเนินการ) เมื่อนําผลคุณภาพน้ําไปเทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดิน พบวา คุณภาพน้ําโดยรวมบริเวณแม
               น้ําตาปตอนบน (สถานี TP 10 – TP11)  สวนใหญอยูในเกณฑคุณภาพน้ําผิวดิน ประเภทที่ 2 (ดี) เปนไปตาม

               ประกาศของกรมควบคุมมลพิษฯ คุณภาพน้ําบริเวณแมน้ําพุมดวง (สถานี TP 04 – TP07) มีคาอยูในเกณฑ
               คุณภาพน้ําผิวดิน ประเภทที่ 3 (พอใช) เปนไปตามประกาศของกรมควบคุมมลพิษฯ สวนบริเวณแมน้ําตาป

               ตอนลาง (สถานี TP 01 – TP03 และ TP08 – TP09)  คุณภาพน้ําสวนใหญอยูในเกณฑคุณภาพน้ําผิวดิน

               ประเภทที่ 3 (พอใช) เปนไปตามประกาศของกรมควบคุมมลพิษฯ ซึ่งพารามิเตอรที่มีคาเกินคามาตรฐานที่พบ
               บอยครั้ง ไดแก คาการปนเปอนของแบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม (FCB)

                              สรุป ผลการตรวจติดตามคุณภาพน้ําแมน้ําตาป-พุมดวง ในระหวาง ป 2560 - 2561
               เมื่อนําไปเทียบกับคามาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดิน พบวา คุณภาพน้ําโดยรวมมีแนวโนมดีขึ้น

                              คลองมะขามเตี้ย

                              สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 14  ไดดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําพื้นที่วิกฤตคลอง
               มะขามเตี้ย ในระหวางป 2560 - 2561 รวม 6 สถานี สามารถสรุปผลไดดังนี้

                              ผลการดําเนินการฯ ในป 2561 จํานวน 8 ครั้ง (ครั้งที่ 9 – 11 อยูระหวางการดําเนินการ)

               เมื่อนําผลคุณภาพน้ําไปเทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดิน พบวา คุณภาพน้ําสวนใหญอยูในเกณฑคุณภาพน้ํา
               ผิวประเภทที่ 4 หรือเสื่อมโทรม (แหลงน้ําที่สามารถใชเพื่อประโยชนในการอุปโภค บริโภคโดยผานการฆาเชื้อ

               โรคตามปกติ และปรับปรุงคุณภาพน้ําเปนพิเศษกอน และเพื่อใชในการอุตสาหกรรม) คิดเปนรอยละ 66.07

               รองลงมา คือ ประเภทที่ 3 หรือพอใช ประเภทที่ 5 หรือเสื่อมโทรมมาก และประเภทที่ 2 หรือดี คิดเปนรอย
               ละ 25.00 5.36 และ 3.57 ตามลําดับ ซึ่งพารามิเตอรที่มีคาเกินคามาตรฐานที่พบบอยครั้ง ไดแก คาออกซิเจน

               ละลายน้ํา (DO) คาความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) คาการปนเปอนของแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมด
               (TCB) และคาการปนเปอนของแบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม (FCB)

                              สรุป ผลการตรวจติดตามคุณภาพน้ําพื้นที่วิกฤต คลองมะขามเตี้ย ในระหวางป 2560 -
               2561 เมื่อนําไปเทียบกับคามาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดิน พบวา คุณภาพน้ําโดยรวมอยูในเกณฑคุณภาพน้ําผิวดิน

               ประเภทที่ 4 หรือเสื่อมโทรม

                              เขื่อนรัชชประภา
                              เขื่อนรัชชประภา ตั้งอยูในพื้นที่อําเภอบานตาขุน จังหวัดสุราษฎรธานี ในปจจุบันไดรับความ

               นิยมจากนักทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้นหลายเทาตัว มีแพที่พักเพิ่มมากขึ้น จากขอมูลพบวามีผูประกอบการแพที่พัก
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125