Page 122 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 122

119


                              พื้นที่เกาะพะงัน

                              เกาะพะงัน อําเภอเกาะพะงัน เปนพื้นที่หนึ่งที่มีนักทองเที่ยวเขามาใชบริการมากขึ้นเรื่อย ๆ
               โดยเฉพาะชวงที่มีการจัดงาน Full moon ปารตี้ ทําใหเกิดปญหาดานสิ่งแวดลอมเพิ่มมากขึ้น ไมวาจะเปนเรื่อง

               ขยะ หรือน้ําเสีย พื้นที่เกาะพะงันมีองคกรปกครองสวนทองถิ่น 3 แหง ไดแก เทศบาลตําบลเกาะพะงัน เทศบาล

               ตําบลเพชรพะงัน และเทศบาลตําบลบานใต ซึ่งในพื้นที่เกาะพะงันมีระบบบําบัดน้ําเสียรวม 1 แหง คือ ระบบ
               บําบัดน้ําเสียรวมชุมชนหาดริ้น ตั้งอยูในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตําบลบานใต เปนระบบบึงประดิษฐ ซึ่งยัง

               ไมครอบคุลมทั้งพื้นที่เกาะที่มีปริมาณน้ําเสียเกิดเพิ่มมากขึ้น ปญหาน้ําเสียที่พบในพื้นที่เกาะพะงัน ไดแก

               การปลอยน้ําเสียลงสูทะเล ซึ่งมีการรองเรียนไปยังองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่และสํานักงาน
               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสุราษฎรธานี บอยครั้ง

                              สถานการณคุณภาพน้ําทะเลบริเวณชายหาดทองเที่ยว พื้นเกาะพะงัน อําเภอเกาะพะงัน
               จังหวัดสุราษฎรธานี ในป 2560 - 2561 ซึ่งดําเนินการเก็บตัวอยางและตรวจวัดคาภาคสนามโดยสํานักงาน

               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสุราษฎรธานี และตรวจวิเคราะหในหองปฏิบัติการโดยมหาวิทยาลัย

               วลัยลักษณ โดย โดยป 2560 ไมไดดําเนินการ เนื่องจากไมมีงบประมาณ สวนในป 2561 ดําเนินการเก็บ
               ตัวอยางน้ําทะเล จํานวน 3 ครั้ง (ครั้งที่ 3 อยูระหวางการดําเนินการ) จํานวน 24 สถานี  เมื่อนําไปเทียบกับคา

               มาตรฐานน้ําทะเล ประเภทที่ 4 เพื่อการนันทนาการ สรุปไดดังนี้
                              ผลการดําเนินการฯ ในป 2561 พบวา คุณภาพน้ําทะเล จํานวน 14 สถานี มีคาเกินเกณฑ

               มาตรฐานฯ โดยพารามิเตอรที่มีเกินคามาตรฐาน ไดแก คาไนเตรท-ไนโตรเจน (Nitrate-Nitrogen) และคา

               ฟอสเฟต-ฟอสฟอรัส ซึ่งสวนใหญมีสาเหตุการปนเปอนมาจากกิจกรรมของมนุษย
                              พื้นที่เกาะเตาและเกาะนางยวน

                              เกาะเตาเปนพื้นที่เกาะ ที่ตั้งอยูในอําเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎรธานี มีองคกรปกครอง

               สวนถิ่นในพื้นที่รับผิดชอบ 1 แหง คือ เทศบาลตําบลเกาะเตา ไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยวเขามาใชบริการ
               เปนจํานวนมาก ทําใหเกิดปญหาน้ําเสียมากเพิ่มขึ้น ซึ่งในพื้นที่เกาะเตาเองนั้นยังไมมีระบบบําบัดน้ําเสียรวม

               และการบังคับใชขอกฎหมายในการบําบัดน้ําเสียจากที่พักอาศัยหรือชุมชนก็ยังไมไดผลเทาที่ควร เนื่องจากบาง

               ชุมชนและสถานประกอบการยังไมไดขออนุญาตใชพื้นที่และจดทะเบียนอยางถูกตองตามกฎหมาย เนื่องจาก
               พื้นที่เกาะเตาเปนพื้นที่ในความรับผิดชอบของกรมธนารักษ ทําใหมีการระบายน้ําเสียลงสูทะเล และยังพบเห็น

               น้ําเสียไหลผานถนนบอยครั้ง
                              สถานการณคุณภาพน้ําทะเลบริเวณชายหาดทองเที่ยว พื้นเกาะนางยวนและเกาะเตา อําเภอ

               เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎรธานี ในป 2561 ซึ่งดําเนินการเก็บตัวอยางและตรวจวัดคาภาคสนามโดยสํานักงาน
               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสุราษฎรธานี และตรวจวิเคราะหในหองปฏิบัติการ โดย

               มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ในป 2561 ดําเนินการเก็บตัวอยางน้ําทะเล จํานวน 3 ครั้ง (ครั้งที่ 3 อยูระหวางการ

               ดําเนินการ) จํานวน 11 สถานี เมื่อนําไปเทียบกับคามาตรฐานน้ําทะเล ประเภทที่ 4 เพื่อการนันทนาการ สรุป
               ไดดังนี้
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127