Page 126 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 126

123


                              ตารางแสดงจานวนปริมาณขยะมูลฝอย และการใชประโยชน ยอนหลัง 4 ป

                                                           ปริมาณขยะ (ตัน/ป)
                         ขอมูล                                                                    คาเฉลี่ย/ป
                                             2557          2558          2559         2560

               ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจริง    387,220.35  391,036.80  377,504.80  376,234.70           382,999.16

               (คํานวณจากฐานประชากร)
               ขยะมูลฝอยที่ไดรับการกําจัด    - %          1.59%        54.29%       38.67%             23.64%

               อยางถูกตอง

               ขยะมูลฝอยที่นํากลับมาใช      9.15%         9.15%        15.37%       70.0%              25.92%
               ประโยชน

               ขยะมูลฝอยที่ไมไดรับการ     32.71%        31.97%         29%         11.51%             26.30%

               จัดการ
                       ที่มา : สรุปสถานการณทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จ.สฎ. , 17 สิงหาคม 2561

                              - สถานที่กําจัดขยะมูลฝอยที่ถูกหลักสุขาภิบาล จํานวน 5 แหง แบงเปนสถานที่กําจัดของรัฐ
               จํานวน 2 แหง ไดแก เทศบาลเมืองดอนสัก และเทศบาลนครเกาะสมุย และของเอชน จํานวน 2 แหง ไดแก

                                     - บริษัท เอส อาร ที พาวเวอรกรีน จํากัด สถานที่ตั้ง บานทาโรงชาง หมูที่ 3

               ตําบลทาโรงชาง อําเภอพุนพิน ขนาดพื้นที่ 160 ไร
                                     - บริษัท ลัคกี้ คลีน เอ็นเนอรยี่ จํากัด สถานที่ตั้ง หมูที่ 10 ตําบลบานสอง

               อําเภอเวียงสระ ขนาดพื้นที่ 149 ไร
                                     - บริษัท อัลเทอร เอ็นเนอรยี่ จํากัด (พื้นที่เปนของเทศบาลตําบลกาญจนดิษฐ

               บริหารโดยเอกชน) สถานที่ตั้ง บานบัวทอน หมูที่ 3 ตาบลกะแดะ อ.กาญจนดิษฐ ขนาดพื้นที่ 5 ไร


                       ดังนั้นการใชนโยบาย ผูกอมลพิษเปนผูจาย และดึงภาคประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหาร

               จัดการขยะ รวมทั้งการสงเสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการคัดแยกขยะที่ตนทางใหเกิดรูปธรรม
               การดึงและสนับสนุนใหเอกชนเขามาลงทุนในการกําจัดขยะที่ถูกตองและถูกหลักวิชาการ  ถือวาเปนแนวทาง

               หนึ่งในการบริหารจัดการขยะอยางครบวงจร และเกิดความยั่งยืนได

                       ของเสียอันตราย
                       จังหวัดสุราษฎรธานี โดย อบจ. สุราษฎรธานี เปนเจาภาพหลักในการเก็บรวบรวมของเสีย อันตราย

               ชุมชนอยางตอเนื่อง โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2558-2559 ไดรวบรวมและจัดสงของเสียอันตรายชุมชนไป
               กําจัดแลวประมาณ 8 ตัน สําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2560 เนื่องจาก อบจ. สุราษฎรธานีไดสํารวจและ

               คาดการณปริมาณของเสียอันตรายชุมชน พบวา ของเสียอันตรายชุมชนที่คัดแยกและเก็บรวบรวมไดมีปริมาณ

               ต่ํากวา 2 ปที่ผานมา จึงไมไดจัดสรรงบประมาณสําหรับการกําจัด อยางไรก็ตาม อบจ.สุราษฎรธานีได
               ดําเนินการประชาสัมพันธและรณรงคให อปท. จํานวน 137 แหง มีการคัดแยกของเสียอันตรายชุมชน โดยเนน

               เฉพาะของเสียอันตรายประเภทหลอดไฟ ถานไฟฉาย/แบตเตอรี่มือถือ และภาชนะบรรจุสารเคมี และเก็บ
               รวบรวมไวในสถานที่รวบรวมของเสียอันตรายชุมชนของตนเอง เพื่อรอการกําจัดในโอกาสตอไป
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131