Page 129 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 129

126


                               พื้นที่กัดเซาะ (กิโลเมตร)   มีโครงสราง   พื้นที่ไมกัดเซาะ (ระยะทางตามแนวชายฝง หนวยเปน
                                                                                   กิโลเมตร)
                             รุนแรง   ปาน   นอย   ระยะทาง  ประเภท   สมดุล   สะสม   สะสม   พิ้น  หาด   ปาก
                             (≥ 5 ม./  กลาง  (≤ 1 ม./ป)    (กม.)   โครงสราง   ตะกอน  ตะกอน  ที่รุก  หิน   แมน้ํา    รวม
             อําเภอ   ตําบล                                                                                 ความยาว
                              ป)    (1-5                                    มาก    นอย    ล้ํา/
                                    ม./ป)                                                พื้นที่            (กม.)
                                                                                           ถม
                                                                                          ทะเล
             รวม              0.49   0.31   1.24    8.92      -     128.90   0.34   0.50   1.71  8.34  6.42   157.17


               หมายเหตุ : RE = Revetment (เขื่อนหินทิ้ง, หินทิ้ง)  VS = Vertical Seawall (กําแพงกันคลื่นประเภทตั้งตรง)  PI = Pier
                       (ทาเทียบเรือ) OB = Offshore Breakwater (เขื่อนหินปองกันคลื่นนอกชายฝง) JT = Jetty (เขื่อนกันทรายและคลื่นปากแมน้ํา)
                       ที่มา:สํานักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝงที่ 4 (จ.สุราษฎรธานี)

                       2.5.6 ปญหาจากภัยธรรมชาติตางๆ (อุทกภัย ภัยแลง และ ดินถลม)


                       ชวงระยะเวลาที่ผานมา จากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศโลก ไดสงผลกระทบหลายดานตอชีวิต
               มนุษย รวมทั้งผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติตางๆ เชน ปาไม สัตวปา ทรัพยากรน้ํา เปนตน และยังสงผล

               ตอสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปอยางเฉียบพลัน เกิดเหตุการณความรุนแรงทางธรรมชาติ เชน น้ําทวม ภัยแลง

               ดินถลม พายุ ภัยธรรมชาติเหลานี้ลวนสงผลกระทบตอการใชชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้ ทั้ง คน สัตวและพืช
               ซึ่งตองมีการปรับตัวและเตรียมรับมือกับภัยธรรมชาติตางๆ เชน ฝนไมตกตองตามฤดูกาล หรือเกิดเหตุดินถลม

               จากการที่ดินไมสามารถอุมน้ําไวได เนื่องจากไมมีรากของตนไมชวยในการพยุงหนาดิน  ปญหาภัยธรรมชาติ

               เหลานี้นอกจากเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงตามสภาวะของโลกแลว การกระทําของมนุษย
               เองก็เปนสวนหนึ่งที่ชวยเรงปฏิกิริยาของการเปลี่ยนแปลง ทั้งการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของประชากรโลก

               การแยงชิงกันใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด ความเห็นแกตัวของมนุษยในการรุกรานทําลายธรรมชาติ เหลานี้เปนตน
                       จังหวัดสุราษฎรธานี อยูในบริบทที่มีการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมอยางหลีกเลี่ยงไมได จาก

               เหตุการณน้ําทวมภาคใตครั้งใหญที่ผานมา จังหวัดสุราษฎรธานีก็ไดรับผลกระทบจากอุทกภัยครั้งที่ผานมา
               เชนกัน (ชวงระยะเวลาตั้งแตวันที่ 25 มีนาคม – 5 เมษายน 2554)  มีผูเดือดรอน 140,116 ครัวเรือน จํานวน

               510,069 คน รวมมูลคาความเสียหายประมาณ 4,000 กวาลานบาท 6สาเหตุอันเนื่องมาจากความกดอากาศสูง

               กําลังคอนขางแรงจากประเทศจีนแพรเสริมลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบน 6 สงผลใหลมตะวันออกพัดปก
               คลุมอาวไทย และภาคใตกําลังแรง ทําใหหลายพื้นที่ในจังหวัดภาคใตมีน้ําปาไหลหลาก น้ําทวมฉับพลัน และน้ํา

               ลนตลิ่ง 6 ความเสียหายที่ไดรับมีทั้งพื้นที่การเกษตร พื้นที่อยูอาศัย แหลงทรัพยากรตางๆ รวมถึงสถานที่

               ทองเที่ยวหลายแหง เชน เกาะสมุย แหลงทองเที่ยวระดับโลก ไดรับความเสียหายเปนจํานวนมาก ทั้งการ
               สูญเสียชีวิต และทรัพยสิน รวมถึงรายไดจากการทองเที่ยวที่ลดลงเชนกัน เนื่องจากนักทองเที่ยวไมแนใจใน

               สถานการณของภัยธรรมชาติ รวมถึงผูประกอบการยังไมมีความพรอมที่จะเปดดําเนินกิจการ และกิจกรรมการ

               ทองเที่ยวตางๆไดทันทีหลังจากประสบภาวะอุทกภัย ทั้งนี้ตองอาศัยเงินทุนและระยะเวลาในการฟนฟูจาก
               ความเสียหายตางๆ ระยะเวลาหนึ่ง
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134