Page 494 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 494

562



                                                                                                   แบบ จ.1-1
                                                                                            (Project Briefรายโครงการ)


                    การจัดทําแบบสรุปโครงการแบบยอ (Project Brief) ของทุกโครงการภายใตงบประมาณของจังหวัด


                                                 แบบสรุปโครงการแบบยอ (Project Brief)



                     ประเด็นการพัฒนาจังหวัด การสงเสริมอุตสาหกรรมบริการและการทองเที่ยวที่ยั่งยืน

                     แผนงาน  พัฒนาบุคคลากรดานการบริการและการทองเที่ยวใหมีคุณภาพมาตรฐาน



                               หัวขอ                                           รายละเอียด
              1.  ชื่อโครงการ                     โครงการยกระดับศักยภาพและมาตรฐานบุคลากรทางดานการทองเที่ยวและการบริการ
                                                  เกาะสมุยและหมูเกาะทะเลใต
              2. ความสําคัญของโครงการ หลักการและ        อุตสาหกรรมทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมแหงความหวัง ที่สรางรายไดใหกับประเทศ
              เหตุผล                              ไทยมากเปนอันดับตนๆ และมีความสําคัญโดยตรงตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

                                                  อันสงผลใหความเปนอยูของประชาชนในประเทศดีขึ้น การเจริญเติบโตของอุตสาหกรรม
                                                  ทองเที่ยวแมวาจะกอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ มีการจางงานเพิ่มขึ้น มีการลงทุนและ
                                                  สรางรายไดเขาประเทศ

                                                       ภาพรวมสถานการณทองเที่ยว “ขยายตัวตอเนื่อง” จากการ เพิ่มขึ้นทั้งจํานวนและ
                                                  คาใชจายเฉลี่ยของนักทองเที่ยวตางชาติและ นักทองเที่ยวชาวไทยที่ใหความสําคัญกับการ
                                                  เดินทางทองเที่ยว ภายในประเทศมากขึ้น โดยมีปจจัยสนับสนุนที่สําคัญมาจากเศรษฐกิจ
                                                  ทั้งในและตางประเทศเริ่มฟนตัว รวมทั้งการออกมาตรการสงเสริม การทองเที่ยวของ

                                                  ภาครัฐ สงผลใหในป 2560 ประเทศไทยจะมีรายได จากการทองเที่ยวประมาณ 2.77
                                                  ลานบาท ขยายตัวรอยละ 10 จากปกอน
                                                        ทามกลางการเติบโตทางดานการทองเที่ยว ปญหาขาดแคลนแรงงาน ถือเปนหนึ่งใน

                                                  วิกฤตของอุตสาหกรรมทองเที่ยวไทยที่สั่งสมมานาน จากขอมูลการสํารวจของการ
                                                  ทองเที่ยวสิงคโปรเกี่ยวกับการขาดแคลนแรงงานในอุตสาหกรรมทองเที่ยว 7 ประเทศ
                                                  เอเชีย พบวา ในป 2564 หรืออีกประมาณ 5 ปขางหนานั้น ตัวเลขการขาดแคลนแรงงาน

                                                  ของ 7 ประเทศ ไดแก จีน ญี่ปุน อินเดีย ไทย สิงคโปร มาเลเซีย และอินโดนีเซีย จะพุง
                                                  ทะยานถึง 7.7 ลานคน โดยประเทศจีนขาดแคลนแรงงานมากที่สุดเปนอันดับ 1 ถึง 4.49
                                                  ลานคน รองลงมา คือ อินเดีย ขาดแคลน 1.53 ลานคนตามมาดวยไทยขาดแคลน 1.06

                                                  ลานคน มากเปนอันดับ 3 สูงกวาประเทศเพื่อนบาน เชน อินโดนีเซียและมาเลเซีย กวา 4
                                                  – 5 เทา ‘การขาดแคลนแรงงาน’ ถือเปนปญหาและความทาทายของอุตสาหกรรม
                                                  ทองเที่ยวเอเชียซึ่งมีอัตราการขยายตัวดีตอเนื่องในทุกๆ ป จากกระแสการเดินทางภายใน
                                                  ภูมิภาคเอเชียแปซิฟกดวยกันเองเปนตัวขับเคลื่อนหลักโดยปญหาที่พบนั้น มีตั้งแตการ

                                                  ขาดแคลนพนักงานระดับปฏิบัติการ จนถึงระดับผูบริหาร อันเกิดมาจากไมคอยมีการจัด
                                                  อบรมกลุมพนักงานระดับปฏิบัติการ ทําใหขาดทักษะการทํางานที่หลากหลาย ขณะที่
   489   490   491   492   493   494   495   496   497   498   499