Page 37 - แผนพัฒนาจังหวัดสุราษฎร์ธานีระยะ 20 ปี
P. 37

4) สาขาโครงสร้างพื้นฐาน มีโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดฯ เป็นหัวหน้า คณะทํางานดําเนินการ ซึ่งที่
                  ประชุมได้ข้อสรุปแนวทางการพัฒนาและโครงการสําคัญด้านโครงสร้างพื้นฐาน ดังนี้

                            1.  พัฒนาและยกระดับระบบโครงสร้างพื้นฐาน โดยแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ
                            1.1 โครงสร้างด้านกายภาพ ได้แก่ การขนส่งทางน้ํา ทางบก ทางอากาศ การรักษาความปลอดภัย

                  เพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายคนและสินค้ารองรับการพัฒนาประเทศและภูมิภาคในอนาคต
                                  1)  ทางถนน สร้างถนน
                                      -  เป็นจุดทางลัด ระหว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี – ห้างเซ็นทรัล

                                      -  เส้นทางเข้าโรงเรียน สฎ.2 ไปยัง เส้น 44
                                      -  เส้นที่ลงจากสะพานศรีสุราษฎร์ ไปยังสี่แยก –ท่าเรือท่าทอง เพื่อป้องกันถยิปซั่ม
                                      -  เส้นทุ่งกง – วัดประดู่ กลายเป็นวงแหวน เชี่อม กาญจนดิษฐ์ พุนพิน เมือง
                                      -  เส้น สะพานศรีสุราษฎร์ กระแดะแจะ ปากน้ํากาญจนดิษฐ์ ดอนสัก พอด ชลคราม
                  เพื่อการท่องเที่ยวเลียบชายฝั่ง
                                  2) ทางน้ํา ตัดถนนเชื่อท่าเทียบเรือที่เป็น marina  เพื่อการท่องเที่ยวและขุดลอกร่องน้ําบ้านดอน

                  ซึ่งตื้นเขินเพื่อให้เรือเดินทางสะดวก

                                  3) ทางอากาศ สร้างสนามบินขนาดใหญ่ (ภูเก็ต กระบี่ สฎ) เป็นโครงการระดับภูมิภาคสามารถ
                  แข่งขันเทียบเท่าชางฮี

                                  4) ทางราง มีรถไฟ monorail รอบเกาะสมุย และควรมีรถไฟที่ link จากสถานีรถไฟพุนพินสู่
                  เมือง

                             1.2)  โครงสร้างด้านระบบดิจิทัล เช่น สัญญาณโทรศัพท์มือถือ อินเตอร์เน็ต ควรครอบคลุมและเข้าถึง
                  ทุกพื้นที่จังหวัด เพื่อรองรับการเคลื่อนที่ของข้อมูลข่าวสาร

                             5) สาขาเศรษฐกิจ มีคลังจังหวัดฯ เป็นหัวหน้าคณะทํางานดําเนินการ ซึ่งที่ประชุมได้ข้อสรุปแนว
                  ทางการพัฒนาและโครงการสําคัญด้านเศรษฐกิจ  ซึ่งประกอบด้วย 4 ด้านหลัก ได้แก่ พืชเศรษฐกิจหลักประมง
                  ปศุสัตว์ การท่องเที่ยว และการค้าการลงทุน ดังนี้
                             จุดอ่อน

                             พืชเศรษฐกิจหลัก (ยางพารา ปาล์มน้ํามัน)
                                1. ขาดแคลนแรงงานกรีดยาง
                                2. เกษตรกรขาดความมุ่งมั่นในการประกอบอาชีพการเกษตรให้ดีขึ้น
                                3. เกษตรกรขาดทักษะในการบริหารจัดการต้นทุนและการเพิ่มมูลค่าการผลิต
                                4. เกษตรกรรุ่นลูกที่ได้รับการศึกษาไม่ได้กลับมาทําอาชีพเกษตรกร
                                5. ขาดแรงงานทักษะด้านการผลิตในภาคส่วนต่างๆ

                                6. ขาดแรงงานในพื้นที่
                                7. ขาดการเพิ่มมูลค่าของวัตถุดิบเช่น ยางพารา




                  แผนพัฒนาจังหวัดสุราษฎร์ธานี ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)                               หน้า 34
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42