Page 42 - แผนพัฒนาจังหวัดสุราษฎร์ธานีระยะ 20 ปี
P. 42

บทที่ 3

                                                   ทิศทางของประเทศไทย


                  3.1 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
                       วิสัยทัศน์: “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของ

                                      เศรษฐกิจพอเพียง”
                       เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์
                       “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
                  พอเพียง” นําไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข และตอบสนองต่อการบรรลุซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะ
                  พัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูง เป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขคนไทย สังคมมีความมั่นคง
                  เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ







                  ความมั่นคง                   ความมั่งคั่ง                  ความยั่งยืน
                  การมีความมั่นคงปลอดภัย จากภัยและการ ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจ การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้
                  เปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอก อย่างต่อเนื่อง ยกระดับเป็นประเทศในกลุ่ม และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เพิ่มขึ้นอย่าง
                  ประเทศในทุกระดับทั้งระดับประเทศ สังคม  ประเทศรายได้สูงความเหลื่อมล้ําของการ ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไม่ใช่
                  ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคลและมีความ พัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อ
                  มั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม  การพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น   สิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและ
                  สิ่งแวดล้อม และการเมือง      เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง  เยียวยาของระบบนิเวศน์
                  ประเทศ มีความมั่นคงในเอกราชและ สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและ การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
                  อธิ ปไตย   มี สถาบั นชา ติ   ศาสนา  ภายนอกประเทศ สร้างฐานเศรษฐกิจสังคม และสอดคล้องกับกฎ ระเบียบของประชาคมโลกซึ่ง
                  พระมหากษัตริย์ที่เข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและ แห่งอนาคต และเป็นจุดสําคัญของการ เป็นที่ยอมรับร่วมกัน ความอุดมสมบูรณ์ของ
                  เป็นที่ยึดเหนียวจิตใจของประชาชน ระบบ เชื่อมโยงในภูมิภาคทั้งการคมนาคมขนส่ง   ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น
                  การเมืองที่มั่นคงเป็นกลไกที่นําไปสู่การบริหาร การผลิต การค้า การลงทุน และการทําธุรกิจ  คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร
                  ประเทศที่ต่อเนื่องและโปร่งใสตามหลัก    มีบทบาทสําคัญในระดับภูมิภาคและระดับโลก  เสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม
                  ธรรมาภิบาล                   เกิดสายสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่าง มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืนให้ความสําคัญ
                  สังคม มีความปรองดองและความสามัคคี  มีพลัง                 กับการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน เพื่อ
                  สามารถผนึกกําลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชน  ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการ การพัฒนาในทุกระดับอย่างสมดุล มีเสถียรภาพ และ
                  มีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น   พัฒนาต่อเนื่อง ได้แก่ทุนมนุษย์ ทุนทาง ยั่งยืน
                  ประชาชน มีความมั่นคงในชีวิต มีงานและ ปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเครื่องจักร  ประชาชนทุกภาคส่วนในสังคม ยึดถือและปฏิบัติ
                  รายได้ที่มั่นคงพอเพียงกับการดํารงชีวิตมีที่อยู่ ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                  อาศัยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน  สิ่งแวดล้อม
                  ฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มีความ
                  มั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้ํา






                  แผนพัฒนาจังหวัดสุราษฎร์ธานี ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)                               หน้า 39
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47