Page 598 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 598

666



                                              หลักการทํางานของโรงไฟฟาเทคโนโลยีแกสซิฟเคชั่น
                                                หลักการของเทคโนโลยีแกสซิฟเคชั่น คือ อาศัยปฏิกิริยาอุณหเคมี ที่ทําการเปลี่ยนเชื้อเพลิงชีวมวล

                                       ที่เปนของแข็งไปเปนแกสเชื้อเพลิง ที่มีองคประกอบ คือ แกสคารบอนมอนนอกไซด (CO) 18-22% แกส
                                                                                                     3
                                       ไฮโดรเจน (H ) 18-20% และแกสมีเทน (CH ) 1-2% มีคาความรอนเฉลี่ย 4.5-5.5 MJ/m  สามารถนําไปใชเปน
                                                                      4
                                                2
                                       เชื้อเพลิงทดแทนน้ํามันปโตรเลียมหรือแกสธรรมชาติได โดยแกสเชื้อเพลิงที่ผลิตได เมื่อนํามาผานกระบวนการ
                                       ทําความสะอาดยางเหนียวและฝุน (Tar and dust) และลดอุณหภูมิแลว จะสามารถใชเปนเชื้อเพลิงใหกับ
                                       เครื่องยนตสันดาปภายในที่เปนตนกําลังผลิตกระแสไฟฟา ซึ่งสามารถใชไดกับเศษวัสดุเหลือใชทางการเกษตร
                                       (ชีวมวล) ไดทุกประเภท อาทิ เศษไม ทางและทะลายปาลม แกลบ กะลามะพราว ซังขาวโพด เหงามันสําปะหลัง
                                       ฯลฯ จึงเหมาะสมกับทุกภาคของประเทศไทย

                                                ในกระบวนการแกสซิฟเคชั่น สามารถแบงโซนการเกิดปฏิกิริยาออกเปน 4 โซน ดังแสดงในรูปที่ 6
                                       โดยโซนของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นอธิบายไดดังตอไปนี้

























                                                                รูปที่ 6  กระบวนการแกสซิฟเคชั่น
                                                เทคโนโลยีแกสซิฟเคชั่นไดรับการยอมรับวาเปนเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมกับชุมชนของประเทศ

                                       ไทย เนื่องจากเปนเทคโนโลยีที่งายไมซับซอน เปนระบบผลิตแกสเชื้อเพลิงที่มีความดันต่ํา (Low pressure)
                                       ปลอดภัย ไมมีอันตราย แกสเชื้อเพลิงที่ผลิตไดสามารถนํามาใชผลิตพลังงานไดโดยตรงโดยสงเขาเครื่องยนต
                                       สันดาปภายใน (Internal combustion engine) เพื่อผลิตไฟฟา สามารถดูแลรักษาโดยชางในทองถิ่น นอกจากนี้
                                       เทคโนโลยีแกสซิฟเคชั่นยังสามารถรองรับวัตถุดิบชีวมวลไดหลากหลายชนิด

                                                ยิ่งไปกวานั้นเทคโนโลยีนี้มีจุดดึงดูดที่นาสนใจอยูที่การปลอยปลดมลพิษสูสิ่งแวดลอมมีอัตราที่ต่ํา
                                       มาก เมื่อเทียบกับเทคโนโลยีการเผาไหมตรงที่มักเกิดแกสมลพิษจากปลองเตาเผาในรูปแบบตางๆ เชน SO ,ชุด x
                                                                                                                2
                                       และสารประกอบอินทรียระเหย (Volatile organic compound) รวมทั้งโลหะหนักตางๆ ซึ่งการลดมลพิษ

                                       อากาศดังกลาว จําเปนตองใชเงินลงทุนสําหรับระบบบําบัดมลพิษอากาศที่เพิ่มสูงขึ้น ในขณะเทคโนโลยีแกสซิฟ
                                       เคชั่น ดวยสภาวะที่มีการควบคุมปริมาณออกซิเจนในสัดสวนที่ต่ํากวาคาที่ทําใหเกิดการเผาไหมที่สมบูรณ
                                       (Stoichiometric fuel air ratio) เพื่อใหไดผลิตภัณฑซึ่งเปนแกสเผาไหมได คือ CO, H , CH   จึงมีผลใหเหลือ
                                                                                                       4
                                                                                                   2
                                       ออกซิเจนปริมาณนอยมากที่จะไปทําปฏิกิริยาออกซิเดชั่นกับธาตุ S และ N จึงเปนผลใหเกิด SO  และ ชุด  ต่ํา
                                                                                                          2
                                                                                                                 x
                                       นอกจากนี้ยังพบวาการนําเทคโนโลยีแกสซิฟเคชั่นไปใชกับชีวมวลที่มีโลหะหนักปนเปอนสูง (Cr, Mn, Cu, As,
                                       Cd และ Hg)  โลหะหนักจะคงเหลืออยูในรูปกากหรือเถาหนัก (Bottom ash) เปนสวนใหญภายหลังปฏิกิริยา
                                       สิ้นสุดลง

                                                จากขอดีของเทคโนโลยีการผลิตแกสเชื้อเพลิงหรือแกสซิฟเคชั่น (Gasification) ดังกลาวทําให
   593   594   595   596   597   598   599   600   601   602   603