Page 594 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 594

662



































                                                        รูปที่ 3 ตัวอยางเครื่องบดยอยวัตถุดิบ(ขยะและเศษไมชีวมวล)

                                              สวนการใชเทคโนโลยีแกสซิฟเคชั่นในการผลิตกระแสไฟฟานั้นเปนที่เหมาะสมกับทางมหาวิทยาลัยฯ

                                       ซึ่งเนนจะตองใชเทคโนโลยีที่งาย ไมซับซอน และมีเสถียรภาพ ซึ่งเทคโนโลยีการผลิตไฟฟาที่เหมาะสม
                                       ดังกลาว คือ เทคโนโลยีแกสซิฟเคชั่น (Biomass gasification) ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่อาศัยกระบวนการ
                                       Thermo-chemicalสามารถเปลี่ยนองคประกอบไฮโดรคารบอนที่มีอยูในชีวมวล ไปเปนแกสชีวมวล ที่มีคา

                                       ความรอน(heating value)สูง ซึ่งประกอบดวย แกสคารบอนมอนนอกไซด (CO) ไฮโดรเจน (H ) และ แกส
                                                                                                           2
                                       มีเทน (CH ) จึงสามารถใชกับเครื่องยนตสันดาปภายในเพื่อผลิตกระแสไฟฟา (Engine-generator set) ได
                                               4
                                       ซึ่งในระบบผลิตแกสชีวมวลนี้เปนระบบที่มีความดันต่ํา (Low pressure) ไมมีอันตราย อีกทั้งเครื่องยนต
                                       สันดาปภายในที่ใช เปนเครื่องยนตดีเซลหรือ เบนซินที่สามารถดูแลและบํารุงรักษาไดงาย

                                              ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏรธานีจึงมีแนวคิดที่จะดําเนินโครงการ“โครงการสถานีผลิตไฟฟา
                                       จากขยะและเศษวัสดุชีวมวลเหลือใชภายในมหาวิทยาลัยฯ” โดยมุงเนนการนําเอาขยะที่ผานการคัดแยก
                                       แลวรวมกับเศษวัสดุทางการเกษตรประเภทเศษไม ใบไมมาผลิตเปนพลังงานไฟฟา โดยอาศัยเทคโนโลยีแกส

                                       ซิฟเคชั่น ซึ่งนอกจากจะเปนการลดปญหาทางดานสิ่งแวดลอมแลวยังสามารถใชทรัพยากรธรรมชาติที่
                                       เหมาะสมและเปนการสรางแหลงพลังงานไฟฟาทดแทนใหคุมคาดําเนินการที่สอดคลองกับแผนการพัฒนา
                                       พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก หรือ Alternative Energy Development Plan (AEDP)ของ

                                       กระทรวงพลังงานใหสามารถใชพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกเพิ่มเปน 25% ตามเปาหมายที่วางไว
                                       ในป 2556 แลว ยังเปนลดปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการจัดการแบบผิดวิธีอีกดวย
             3.  วัตถุประสงคของโครงการ   3.1   เพื่อเปนการใชทรัพยากรธรรมชาติใหคุมคา โดยการนําเอาเศษขยะและเชื้อเพลิงชีวมวลภายใน

                                       มหาวิทยาลัยมาใชเปนวัตถุดิบผลิตพลังงานไฟฟา
                                       3.2    เพื่อสงเสริมการมีสวนรวมและสรางจิตสํานึกของนักศึกษา เจาหนาที่และบุคคลากรของ
                                       มหาวิทยาลัยฯ ดานการบริหารจัดการเศษขยะและวัสดุชีวมวลเหลือใชภายในมหาวิทยาลัยฯ
                                       3.3    เพื่อลดภาระคาใชจายดานพลังงานไฟฟาใหกับมหาวิทยาลัยฯ

                                       3.4    เพื่อสรางพื้นที่นํารองในการสรางสถานีผลิตไฟฟาในหนวยงานราชการบริเวณพื้นที่จังหวัด
   589   590   591   592   593   594   595   596   597   598   599