Page 589 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 589

657



                                                      จังหวัดสุราษฎรธานีเปนหนึ่งในจํานวนจังหวัด 20 จังหวัดที่มีรายงานปญหา
                                               ขยะมูลฝอยสะสมโดยกรมควบคุมมลพิษในป 2557 ซึ่งพบวาจังหวัดสุราษฎรธานีมี
                                               ปริมาณขยะสะสม 319,493 ตัน และมีปริมาณขยะที่เกิดขึ้น 387, 220 ตัน/ป ใน

                                               จํานวนนี้มีปริมาณขยะที่ถูกนํากลับไปใชประโยชนเพียง 35, 449 ตัน/ป ในขณะที่
                                               ปริมาณขยะที่กําจัดไมถูกวิธีมีประมาณ 225,123.97 ตัน/ป ซึ่งสวนใหญเปนบอขยะ
                                               แบบฝงกลบที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหลายๆ ดานตามมา ทั้งนี้มหาวิทยาลัยราช

                                               ภัฎสุราษฎรธานีเปนชุมชนขนาดใหญอีกแหลงหนึ่งของจังหวัดสุราษฎรธานีที่เปนองค
                                               กรหรือหนวยงานซึ่งประกอบไปดวยบุคลากรมากมาย ไดแก คณาจารย เจาหนาที่ ขา
                                               ราชการประจํา รวมถึงนิสิตนักศึกษารวมทั้งสิ้นมากกวา 20, 200 คน (สํานักสงเสริม
                                               วิชาการและงานทะเบียน,2558) ซึ่งดําเนินกิจกรรมตาง ๆ รวมทั้งพักอาศัยอยูใน

                                               สถาบันบางสวน โดยกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในทั้งในสวนของการทํางาน และการทํา
                                               กิจกรรมสวนตัวอื่น ๆ สวนที่เหลือจากการใชทรัพยากรในกิจกรรมตาง ๆ นั้น เกิดเปน
                                               ขยะที่เหลือทิ้งรอการจัดการตอไป

                  3.  วัตถุประสงคของโครงการ   1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่อาศัยอยูในเทศบาลตําบลขุนทะเล
                                               อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานีตอการจัดการขยะมูลฝอย
                                               2. เพื่อศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในเทศบาลตําบลขุนทะเล
                                               อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

                                               3. เพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลกระทบตอการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยของ
                                               ประชาชน
                                               4. เพื่อศึกษาการออกแบบวิธีการจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมตอพื้นที่เทศบาลตําบล

                                               ขุนทะเล อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี
                  4.  ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย    1. ปริมาณขยะในพื้นที่ลดลงรอยละ 3
                                               2. ขยะจากครัวเรือนไดรับการจัดการที่ถูกตอง

                                               3. ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี เปนชุมชนสะอาด นาอยู
                                               4. ประชาชนมีรายไดจากการจัดตั้งธนาคารขยะชุมชน
                                               5. ประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนแบบบูรณาการ

                  4.  พื้นที่เปาหมาย          ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตําบลขุนทะเล อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี
                  6.  กิจกรรมหลัก              1) ศึกษาปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ทั้ง 10 หมูบาน
                                               2) สงเสริมการบริหารจัดการขยะตนทางอยางมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่
                                               3) ศึกษาการผลิตกาซชีวภาพ/ทําปุยจากขยะอินทรีย

                                               4) ศึกษารูปแบบเตาเผาขยะชุมชนที่เหมาะสมตอพื้นที่
                                               5) จัดทําสื่อประชาสัมพันธการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
                     6.1 กิจกรรมหลักที่ 1      กิจกรรมที่ 1 ศึกษาปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ทั้ง 10 หมูบาน

                        งบประมาณ               500,000 บาท
                        ผูรับผิดชอบ           นางสาวนิสากร สุขหิรัญ
                         หนวยงานที่เกี่ยวของ   เทศบาลตําบลขุนทะเล และมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

                     6.2 กิจกรรมหลักที่ 2      กิจกรรมที่ 2 สงเสริมการบริหารจัดการขยะตนทางอยางมีสวนรวมของประชาชนใน
                                               พื้นที่
                           งบประมาณ            1,000,000 บาท
   584   585   586   587   588   589   590   591   592   593   594