Page 588 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 588

656


                                                                                               แบบ จ.1-1/กจ.1-1

                                                                                             (Project Briefรายโครงการ)
                 การจัดทําแบบสรุปโครงการแบบยอ (Project Brief) ของทุกโครงการภายใตงบประมาณของจังหวัด/กลุมจังหวัด

                                              แบบสรุปโครงการแบบยอ (Project Brief)


                  ประเด็นการพัฒนาจังหวัด   การสรางฐานทรัพยากรธรรมชาติที่มั่นคงและมีสภาพแวดลอมที่เหมาะสม


                  แผนงาน สงเสริมการมีสวนรวมในการจัดการสิ่งแวดลอมจากแหลงกําเนิดมลพิษ


                                หัวขอ                                      รายละเอียด
                  1.  ชื่อโครงการ              การจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสวนรวมของประชาชนในเทศบาลตําบลขุนทะเล

                                               อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี
                  2. ความสําคัญของโครงการ                 จากแผนพัฒนาจังหวัดสุราษฎรธานี ป 2561-2564 จังหวัดสุราษฎรธานีได
                  หลักการและเหตุผล             ยึดนโยบายการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดที่สําคัญ ประกอบดวย นโยบายของรัฐบาล

                                               แผนการบริหารราชการแผนดิน แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่ง
                                               ประกอบดวยแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประเทศไทย 4.0 และทิศ
                                               ทางการพัฒนารายภาค (ภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ) รวมถึง แผน
                                               รายสาขา/เฉพาะดานตางๆ เชน แผนพัฒนาการเกษตร นโยบายโซนนิ่งภาคเกษตร

                                               แผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติ แผนแมบทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย แผนจัดการ
                                               คุณภาพสิ่งแวดลอม แผนแมบทบริหารจัดการน้ํา ยุทธศาสตรการพัฒนาเพื่อเสริม
                                               ความมั่นคงของชาติ เขตเศรษฐกิจพิเศษ โครงสรางพื้นฐานดานคมนาคม สิ่งแวดลอม

                                               (ปาไม ขยะ หมอกควัน) ปรองดองสมานฉันท ผังเมือง เปนตน ทั้งนี้ ไดมุงเนนการ
                                               ทํางานแบบเครือขายรวมกันทุกภาคสวน (สวนกลาง สวนภูมิภาคและสวนทองถิ่น
                                               รวมถึงภาคเอกชนและภาคประชาสังคม/ชุมชน) เพื่อรวมกันกําหนดทิศทางการพัฒนา
                                               จังหวัด รวมทั้งใหความสําคัญกับแผนพัฒนากลุมจังหวัด เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน

                                               การแขงขันอันจะกอใหเกิดประโยชนตอประชาชนอยางทั่วถึง
                                                      ปจจุบันสถานการณปญหาปริมาณขยะลนเมืองและขาดการจัดการที่
                                               เหมาะสม มีแนวโนมทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องซึ่งเปนผลโดยตรงจากการ

                                               เพิ่มขึ้นของจํานวนประชากร การขยายตัวของชุมชนภาคธุรกิจตางๆ และการพัฒนา
                                               ทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรม รวมถึงการสงเสริมพัฒนาการทองเที่ยวที่เติบโตขึ้นอยาง
                                               รวดเร็ว ทําใหปญหาเรื่องของขยะกลายเปนปญหาหลักสําคัญที่ทุกพื้นที่ของประเทศ
                                               ตองเผชิญอยางหลีกเลี่ยงไมไดจากการสํารวจโดยกรมควบคุมมลพิษ (2557) ที่ได

                                               ทําการศึกษาปริมาณขยะมูลฝอยทั่วประเทศไทย พบวา มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น
                                               22 ลานตัน/ป และมีขยะมูลฝอยตกคางมากกวา 13 ลานตัน/ป ที่มีการกําจัดไม
                                               ถูกตองตามหลักสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม กอใหเกิดปญหาทางดานสาธารณสุข เชน การ

                                               แพรระบาดของโรคติดตอ เปนแหลงวางไขของแมลงวัน กอปญหาเรื่องกลิ่นปญหานํ้า
                                               เสียจากกองขยะ (leachate) ซึ่งมีความสกปรกสูงมาก ทั้งสารอินทรีย สารอนินทรีย
                                               เชื้อโรคและสารพิษตาง ๆ เจือปนอยู กอเกิดการปนเปอนกับแหลงนํ้าผิวดินและแหลง

                                               นํ้าใตดินและกอใหเกิดปญหามลพิษทางอากาศ ซึ่งทําใหสถานการณปญหาขยะมูล
                                               ฝอยของประเทศเขาขั้นวิกฤตและจําเปนตองไดรับการแกไขอยางเรงดวน
   583   584   585   586   587   588   589   590   591   592   593