Page 583 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 583

651



                      แหงชาติที่ทุกภาคสวนของประเทศตองใหความสําคัญและรวมมือกันแกไขปญหาเปนการเรงดวน และตองดําเนินการแกไข
                      ปญหาใหครบถวนตั้งแตตนทางคือการลดปริมาณขยะที่ตนทาง การคัดแยกประเภทขยะ กลางทางคือจํานวนขยะที่จัดเก็บและ
                      ขนยายมีจํานวนลดลง และปลายทางคือการจัดการขยะมูลฝอยใหเหมาะสมกับประเภท เพื่อลดการใชทรัพยากรและผลิต
                      พลังงานทดแทนจากขยะมูลฝอย (ปภาวรินท นาจําปา, 2557) สอดคลองกับยุทธศาสตรการจัดการมลพิษ 20 ป และแผนการ

                      จัดการมลพิษ พ.ศ.2560 - 2564 ไดสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) มีสวนรวมในการบริหารจัดการน้ําเสีย ขยะ
                      มูลฝอย และของเสียอันตรายของชุมชนใหเปนไปตามมาตรฐานหรือเกณฑที่กําหนด ซึ่งถูกระบุไวในหมวด 14 มาตรา 281 และ
                      283 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550  แตที่ผานมาพบวาในหลายอปท.ยังขาดการดําเนินการในการจัดการที่

                      ชัดเจน เหมาะสมและถูกสุขลักษณะตามหลักสุขาภิบาล
                           จังหวัดสุราษฎรธานีเปนพื้นที่หนึ่งที่มีทรัพยากรทางทะเล และชายฝงที่อุดมสมบูรณ มีบริการของระบบนิเวศ
                      (Ecological Service) ที่สูงแหลงหนึ่งของประเทศไทย โดยเฉพาะพื้นที่อาวบานดอน ซึ่งถือวาเปนแหลงผลิตและสงอออกสัตว

                      น้ําทางทะเลที่สําคัญ และเปนอันดับตนๆ ของประเทศไทย สรางมูลคามหาศาลใหแกประเทศ จากขอมูลแผนพัฒนาจังหวัดสุ
                      ราษฎรธานีระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 -2579) ไดรายงานวาจังหวัดสุราษฎรธานีมีผลผลิตรวมของการประมง มีมูลคา 3,052 ลาน
                      บาท คิดเปนรอยละ 1.6 ของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด และรอยละ 6.1 ของผลิตภัณฑดานการเกษตร ขณะที่ขอมูลสถิติการ

                      ประมงจากกรมประมงป 2560 พบวาจังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งอยูประมงเขต 3 อาวไทยตอนบน มีผลผลิตจากการเพาะเลี้ยง
                      ชายฝงมากเปนอันดับ 2 ของประเทศ มีมูลคารวม 72,843 ตัน/ป และผลผลิตที่สําคัญของอาวบานดอน คือ กุง และหอยทะเล
                      ซึ่งมีทั้งหอยแครง หอยแมลงภู และหอยนางรมที่มีปริมาณการสงออกเปนอันดับ 2 ของประเทศเชนกัน (กรมประมง, 2560)
                      เมื่อเทียบมูลคาการสงออก และปริมาณสัตวน้ําบริเวณชายฝงในปจจุบันเปรียบเทียบกับขอมูลในอดีต พบวาปจจุบันมีมูลคา

                      ลดลง (กรมประมง, 2560) ซึ่งอาจจะเปนผลมาจากความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทะเลและชายฝงโดยสาเหตุหนึ่งเนื่องมาจาก
                      การไดรับผลกระทบจากปญหาขยะมูลฝอย ซึ่งมีแหลงกําเนิดสวนใหญมาจากพื้นแผนดินใหญและถูกพัดพาไปกับแมน้ํา ลําคลอง
                      ลงสูทะเล (Lebreton et al., 2017) จากกิจกรรมตางๆ ของมนุษยบนฝงทั้งจากกิจกรรมในครัวเรือนและอุตสาหกรรม

                      โดยเฉพาะการทิ้งของเสียและขยะลงสูแมน้ําโดยตรงของชุมชนสองฝงคลองและริมแมน้ํา ขยะที่ถูกทิ้งลงสูแหลงน้ําทายที่สุดก็จะ
                      ถูกลอยไปรวมกันในทะเลหรือบางสวนตกลงไปสะสมบนพื้นทะเลบริเวณอาวบานดอน และสรางมลพิษอื่นๆ ตามมาตอระบบ
                      นิเวศทะเลและชายฝง
                           ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงตองการสรางกระบวนการเรียนรูใหคนในชุมชนและเยาวชนรุนใหมเขามามีสวนรวมในการ

                      บริหารจัดการขยะที่ตนทาง รวมถึงสรางความตระหนักรับผิดชอบรวมกันในการจัดการปญหาขยะที่เกิดขึ้นในชุมชนใหถูกตอง
                      เหมาะสมตามหลักวิชาการและบริบทพื้นที่ของชุมชน เพื่อใหไดองคความรูเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน วิธีการหรือ
                      รูปแบบตลอดจนนวัตกรรมตางๆ ที่เหมาะสมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนอยางยั่งยืนโดยเนนการมีสวนรวม

                      ของชุมชน ดวยการพัฒนากระบวนการมีสวนรวมของชุมชน ผานการศึกษาเชิงปฏิบัติการ (action research) มีการเปดโอกาส
                      ใหชุมชนรวมถึงเยาวชนเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานแกไขปญหาของชุมชนเองโดยวิธีการเรียนรูจากประสบการณและเนน
                      การมีสวนรวมในการวิเคราะหวางแผนดําเนินการแกไขปญหาใหลดลงซึ่งมีวิธีการและขั้นตอนที่เปนประโยชนตอการทํางาน
                      รวมกันของชุมชน นอกจากจะนําไปสูการมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอยแลวยังเปนการสรางกระบวนการเรียนรูของประชาชน

                      ในชุมชน โดยการดําเนินการดวยชุมชนเพื่อชุมชน ตามรูปแบบและศักยภาพของชุมชนเอง อันจะนําไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิต
                      และความเปนอยูที่ดี


                  3.  วัตถุประสงคของโครงการ
                         1)  เพื่อพัฒนาชุดความรู คูมือ เครื่องมือทางวิชาการที่ชุมชนทองถิ่นสามารถนําใชในการตอยอดขยายผลสูการจัดการขยะ
                             โดยการมีสวนรวมของชุมชนอยางยั่งยืน

                         2)  เพื่อเสริมสรางการมีสวนรวมและตระหนักรู สรางความสํานึกในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
   578   579   580   581   582   583   584   585   586   587   588