Page 582 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 582

650

                                                                                                 แบบ จ.1-1
                                                                                           (Project Brief รายโครงการ)



                      การจัดทําแบบสรุปโครงการแบบยอ (Project Brief) ของทุกโครงการภายใตงบประมาณของจังหวัด

                                              แบบสรุปโครงการแบบยอ (Project Brief)


                  ประเด็นการพัฒนาจังหวัด    การสรางฐานทรัพยากรธรรมชาติที่มั่นคงและมีสภาพแวดลอมที่เหมาะสม


                  แผนงาน  สงเสริมการมีสวนรวมในการจัดการสิ่งแวดลอมจากแหลงกําเนิดมลพิษ

                  1.  ชื่อโครงการ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสวนรวมของชุมชนในพื้นปากแมน้ําอาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี
                  2.  ความสําคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล

                           ปจจุบันการเพิ่มของจํานวนประชากรทั่วโลกและการขยายตัวของชุมชนเมืองมีแนวโนมสูงขึ้น สงผลใหความตองการใช
                      ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพิ่มสูงขึ้นตามมา ทําใหเกิดปญหาดานสิ่งแวดลอมหลายประการตามมา เชน ปญหาภาวะ
                      โลกรอน มลพิษทางน้ํา มลพิษทางอากาศ  มลพิษทางดิน ปญหาการเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ปาไมถูกทําลาย รวมถึง

                      ปญหาขยะมูลฝอย เปนตน การเติบโตของเมืองที่มีขนาดใหญจะสัมพันธกับปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มมากขึ้นไมวาจะเปนขยะมูล
                      ฝอยจากครัวเรือนซึ่งสวนใหญจะเปนพวกเศษอาหารที่เหลือจากการบริโภครวมทั้งเศษอาหาร และกลุมพลาสติก หรือจะเปน
                      ขยะมูลฝอยที่ถูกทิ้งอยูตามทองถนน แมน้ํา ลําคลอง หรือสถานที่สาธารณะตาง ๆ ซึ่งสวนใหญจะเปนพวกใบไม เศษกระดาษ
                      ถุงพลาสติก ของเหลือใช เปนตน

                           สถานการณการจัดการขยะมูลฝอยป 2560 ประเทศไทยมีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศมีประมาณ 27.37
                      ลานตัน เพิ่มขึ้นรอยละ 1.15 จากป 2559 ที่มีปริมาณขยะเกิดขึ้น 27.06 ลานตัน ในขณะที่อัตราการเกิดขยะมูลฝอยตอคน
                      ประมาณ 1.13 กิโลกรัม/คน/วัน ลดลงจาก พ.ศ. 2559 ซึ่งมีปริมาณ 1.14 กิโลกรัม/คน/วัน โดยเปนผลมาจากความรวมมือของ

                      หนวยงานทองถิ่น ประชาชน และภาคเอกชนในการลดและใชประโยชนจากขยะมูลฝอยและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
                      บริโภค (กรมควบคุมมลพิษ, 2561) การจัดการขยะมูลฝอยใน 2560 เปรียบเทียบกับ ป 2559 ปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกนําไป
                      กําจัดอยางถูกตองเพิ่มขึ้นรอยละ 22 จาก 9.57 ลานตัน เปน 11.69 ลานตัน มีปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกนํากลับมาใชประโยชน
                      เพิ่มขึ้น รอยละ 47 จาก 5.81 ลานตัน เปน 8.51 ลานตัน สงผลใหปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกนําไปกําจัดอยางไมถูกตองลดลง

                      รอยละ 39 จาก 11.69 ลานตัน เปน 7.17 ลานตัน (กรมควบคุมมลพิษ, 2561)
                           อยางไรก็ตามวิกฤตปญหาขยะมูลฝอย ยังคงเปนหนึ่งในปญหาสิ่งแวดลอมที่ตองไดรับการแกไขอยางเรงดวน เนื่องจาก
                      ปญหาทวีความรุนแรงมากขึ้นทั้งดานปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยที่ดําเนินการไมถูกตอง

                      ยังคงไมไดรับการปรับปรุง ทําใหยังคงมีขยะมูลฝอยที่ตกคางในสถานที่กําจัด สังคมเมืองที่มีการขยายตัวสูงตามจํานวนประชากร
                      ที่เพิ่มขึ้นสงผลใหเกิดการบริโภคเพิ่มสูงขึ้น ทําใหปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นตามไป  ปจจัยที่สงผลใหการจัดการขยะมูลฝอยยัง
                      ดําเนินการไดไมเต็มประสิทธิภาพ อาทิ อัตราคาธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากประชาชนยังไมสอดคลองกับตนทุนการดําเนินงาน
                      สถานที่กําจัดขยะมูลฝอยที่ถูกตองมีไมเพียงพอ การคัดแยกขยะมูลฝอยจากตนทางยังไมสามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่อง โดย

                      บางแหงยังมีการเก็บขนขยะมูลฝอยที่คัดแยกไวแลวรวมกับขยะที่จะตองกําจัด ความพรอมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใน
                      การใหบริการเก็บขนขยะมูลฝอย การกําจัดขยะมูลฝอยในบางพื้นที่ยังดําเนินการไมถูกตองตามหลักวิชาการ บางพื้นที่ไม
                      สามารถดําเนินการไดเนื่องจากประชาชนตอตาน การขาดความรวมมือและความตระหนักจากประชาชน นักทองเที่ยว และ

                      ผูประกอบการในการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแตตนทาง รวมถึงยังมีการใชสินคาและ/หรือบรรจุภัณฑที่กําจัดยากและยอย
                      สลายตามธรรมชาติไดยากโดยเฉพาะถุงพลาสติกและโฟมที่ยังมีใชกันอยางแพรหลาย ปญหาเรื่องขยะมูลฝอยจึงกลายเปนปญหา
                      หลักสําคัญที่ทุกพื้นที่ของประเทศตองเผชิญอยางหลีกเลี่ยงไมได
                           ยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ.2560 - 2579) ไดใหความสําคัญในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยกําหนดใหการ

                      จัดการมลพิษในดานตางๆ เปนเรื่องสําคัญที่จําเปนตองเรงรัดดําเนินการ ปญหาเรื่องขยะมูลฝอยจึงไดถูกกําหนดใหเปนวาระ
   577   578   579   580   581   582   583   584   585   586   587