Page 591 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 591

659


                                                                                                 แบบ จ.1-1

                                                                                           (Project Brief รายโครงการ)
                      การจัดทําแบบสรุปโครงการแบบยอ (Project Brief) ของทุกโครงการภายใตงบประมาณของจังหวัด

                                              แบบสรุปโครงการแบบยอ (Project Brief)


            ประเด็นการพัฒนาจังหวัด    การสรางฐานทรัพยากรธรรมชาติที่มั่นคงและมีสภาพแวดลอมที่เหมาะสม


            แผนงาน สงเสริมการมีสวนรวมในการจัดการสิ่งแวดลอมจากแหลงกําเนิดมลพิษ


                          หัวขอ                                            รายละเอียด

             1.  ชื่อโครงการ           สถานีผลิตไฟฟาจากขยะและเศษวัสดุชีวมวลเหลือใชภายในมหาวิทยาลัยฯ
             2. ความสําคัญของโครงการ          ตามที่นโยบาย  พลังงานที่อยูในคําแถลงนโยบายของรัฐบาลที่  พลเอก  ประยุทธ  จันทรโอชา
             หลักการและเหตุผล          นายกรัฐมนตรีไดแถลงตอสภานิติบัญญัติแหงชาติ เมื่อวันศุกรที่ 12 กันยายน 2557 “ปฏิรูปโครงสรางราคา
                                       เชื้อเพลิงประเภทตางๆใหสอดคลองกับตนทุนและใหมีภาระภาษีที่เหมาะสมระหวางน้ํามันตางชนิดและผูใช

                                       ตางประเภทเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานของประเทศและใหผูบริโภคระมัดระวังที่จะไมใชอยาง
                                       ฟุมเฟอยรวมถึงดําเนินการใหมีการสํารวจและผลิตกาซธรรมชาติและน้ํามันดิบรอบใหมทั้งในทะเลและบน
                                       บกและดําเนินการใหมีการสรางโรงไฟฟาเพิ่มขึ้นโดยหนวยงานของรัฐและเอกชนทั้งจากการใชฟอสซิลเปน
                                       เชื้อเพลิงและจากพลังงานทดแทนทุกชนิดดวยวิธีการที่เปดเผยโปรงใสเปนธรรมและเปนมิตรตอสภาวะ

                                       แวดลอมพรอมกับรวมมือกับประเทศเพื่อนบานในการพัฒนา
                                       พลังงาน”(http://energy.go.th/sites/newfile/policygovprayuth.pdf)
                                       รัฐบาลไดสงเสริมใหมีการใชเชื้อเพลิงชีวมวลเพิ่มมากขึ้นเพื่อทดแทนการใชเชื้อเพลิงฟอสซิลจําพวกถานหิน

                                       น้ํามันเตา  แก็สธรรมชาติ  ที่นําเขาจากตางประเทศสําหรับการนําเชื้อเพลิงชีวมวลมาใชนั้นมีดวยกันหลาย
                                       รูปแบบเชนการนํามาเผาไหมโดยตรงหรือการผลิตไบโอแกสแตสวนใหญนําเชื้อเพลิงชีวมวลมาเผาไหม
                                       โดยตรงเพราะมีประสิทธิภาพสูงเชื้อเพลิงชีวมวลนั้นเปนวัสดุที่เหลือใชจากการเกษตรในประเทศนั้นมี
                                       มากมายหลายชนิดเชน เศษไม ใบไม แกลบ ฟางขาว ซังขาวโพด ซากออยเศษไม รากไม รวมทั้งเศษขยะมูล

                                       ฝอย เปนตน
                                           ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏรธานีมีแนวคิดที่จะดําเนินโครงการ“สถานีผลิตไฟฟาจากขยะและ
                                       เศษวัสดุชีวมวลเหลือใชภายในมหาวิทยาลัยฯ” โดยมุงเนนการนําเอาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นภายใน

                                       มหาวิทยาลัยฯปริมาณ 600 ตัน/เดือนและเศษไม ใบไมที่เหลือใชปริมาณ 3 ตัน/เดือนโดยมีกระบวนการ
                                       ศึกษาการทํางานตั้งแตการประเมินศึกษาศักยภาพของขยะมูลฝอย การรวมรวมขอมูลปริมาณขยะที่มี
                                       ศักยภาพรวมทั้งเศษไมและใบไม การทดสอบหาคาความรอนเฉลี่ยที่เหมาะสม ตลอดจนการออกแบบ
                                       กระบวนการคัดแยก ยอยและลดความชื้นกอนเขาสูกระบวนการของการผลิตไฟฟาตอไป ดังรูป

                                                องคประกอบมูลฝอย                                   รอยละ

                                                                                                 โดยน้ําหนัก

                                                                                                   เปยก


                                                1. มูลฝอยที่สามารถเผาไหมได                       72.33

                                                   1.1 ผัก ผลไม เศษอาหาร                          37.94
   586   587   588   589   590   591   592   593   594   595   596