Page 597 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 597

665




                                                      รูปที่ 5 แผนผังสวนประกอบที่สําคัญของสถานีผลิตไฟฟาชีวมวล

                                                การวางแผนการบริหารจัดการ การผลิตและจําหนายไฟฟา ตลอดจนผลพลอยไดที่จะเกิดขึ้นจากการ
                                       ผลิตไฟฟา

                                                        การจัดเตรียมพนักงานเพื่อเตรียมพรอมสาหรับการเดินเครื่องจักร และการ

                                                         บํารุงรักษาเครื่องจักร

                                                        การจัดเตรียมกระบวนการคัดแยกเชื้อเพลิงจากขยะและเศษวัสดุชีวมวล และทําการ
                                                         วางแผนการจัดการโรงไฟฟา ทั้งดานเทคโนโลยี และการจัดหาวัตถุดิบ

                                                        การจัดทําแผนธุรกิจในการจัดการสถานีผลิตไฟฟาฯซึ่งจะกระทําควบคูไปกับ การ
                                                         วิเคราะหผลตอบแทน และผลกระทบอื่นๆของโรงไฟฟา (ตนทุนทางดาน

                                                         สิ่งแวดลอมและสังคม)
                                              การจัดฝกอบรมใหความรูเพื่อเตรียมความพรอมในการดําเนินงาน

                                                      ถายทอดเทคโนโลยีสถานีผลิตไฟฟาฯเพื่อนําไปสูการเตรียมความพรอม ในการสงมอบ
                                       ทั้งสําหรับเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ ชุมชนรอบขางตลอดจนหนวยงานตางๆ ที่สนใจ โดยแบงเปนหลักสูตร
                                       ตางๆ ดังตอไปนี้

                                                        หลักสูตรที่ 1การเตรียมคัดแยกขยะและเศษวัสดุชีวมวลใหเปนเชื้อเพลิงชีวมวลรวม

                                                         ไปถึง การบริการจัดการเชื้อเพลิง

                                                        หลักสูตรที่ 2หลักการทํางาน การเดินระบบ การบํารุงรักษาโรงไฟฟาฯ

                                                        หลักสูตรที่ 3 ผลพลอยไดและการใชประโยชนจากการผลิตไฟฟาของโรงไฟฟา
                                                         ฯ การผลิตถานอัดแทงและการอบแหงเชื้อเพลิงชีวมวล
                                              การสรางศูนยการเรียนรูพลังงานทดแทนแบบครบวงจร

                                                      มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏรธานี ดําเนินการวางแผนเตรียมความพรอม เตรียม
                                       บุคลากร และเตรียมพรอมสําหรับการเปนวิทยากร ตลอดจนการจัดทําคูมือ และเอกสารเผยแพรตางๆ เพื่อ
                                       เผยแพรองคความรูตนแบบสถานีผลิตพลังงานไฟฟาจากขยะและเศษวัสดุเหลือใชจาก ชีวมวล ตั้งแตการ

                                       วางแผนการจัดการวัตถุดิบการเตรียมวัตถุดิบและเทคโนโลยีเพื่อผลิตไฟฟา การบริหารจัดการโรงงานและ
                                       บํารุงรักษา ตลอดจนการใชประโยชนของผลิตภัณฑรองจากระบบไปใชเพื่อผลิตถานเชื้อเพลิง

                                              การประเมินสรุปผลงานภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ
                                                      ทําการประเมินสรุปผลงานทั้งหมดของโครงการ โดยการแสดงใหเห็นเปนรูปธรรมวา
                                       ภายหลังจากการดําเนิน “โครงการสถานีผลิตไฟฟาจากขยะและเศษวัสดุชีวมวลเหลือใชภายใน

                                       มหาวิทยาลัยฯ” แลวสามารถผลิตไฟฟาใชภายในมหาวิทยาลัยฯไดไมนอยกวา 200 kW
                                           เทคโนโลยีหรือเครื่องจักรอุปกรณที่จะนํามาใชในโครงการ

                                              การผลิตพลังงานทดแทนจากขยะและเศษวัสดุเหลือใชประเภทชีวมวล โดยทั่วไปจะมีอยู 2 วิธีการ
                                       หลักๆคือ 1) การหมัก (Fermentation) ซึ่งจะไดกาซมีเทน หรือ เมทานอล แตอยูในปริมาณที่นอยและใช
                                       ระยะเวลานาน 2) การเผา (Combustion and gasification) สามารถนํามาผลิตพลังงานความรอนได

                                       โดยตรง หรือ ไดองคประกอบกาซเชื้อเพลิงที่มีคา Heating value สูง ซึ่งมีความเหมาะสมและเปนไปได
                                       อยางยิ่งในการนํามาใชในอุตสาหกรรมการผลิตทางการเกษตร อยางไรก็ตาม สําหรับโรงไฟฟาขนาดเล็ก
                                       เทคโนโลยีแกสซิฟเคชั่นจะมีความเปนไปไดทางเศรษฐศาสตรมากที่สุด
   592   593   594   595   596   597   598   599   600   601   602