Page 602 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 602

670



                                                 ระบบทําความสะอาดแกสเชื้อเพลิงสังเคราะห

                                                 (Syngas Cleaning System)                         4,100,000

                                                 ระบบบําบัดน้ําเสีย (Water Treatment System)        819,000


                                                 เครื่องมือวัดและอุปกรณอื่นๆ                     2,050,000

                                                 ระบบผลิตไฟฟาและควบคุม                           12,285,000


                                                 ระบบโครงสรางและอาคาร                            3,276,000

                                                 คาบริหารงานกอสราง                             1,760,000


                                            2    เชื่อมตอระบบไฟฟา/ภายในหนวยงาน                 1,950,000

                                                               รวมเปนเงิน                       41,450,000

             10.  ผลผลิต (output)      ระบุผลผลิตของโครงการ
                                              มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี เปนมหาวิทยาลัยที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547
                                       ซึ่งประกาศใชเมื่อ วันที่ 15 มิถุนายน 2547 ปจจุบันมหาวิทยาลัยฯเปดสอนในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท  ปริญญาเอก

                                       เพื่อใหผูสนใจเลือกศึกษาในสาขาที่ตรงกับคุณสมบัติและความตองการของแตละคน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี เปน
                                       มหาวิทยาลัยที่มีพัฒนามายาวนาน ในยุคเริ่มตนมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี มีชื่อวา "วิทยาลัยครูสุราษฎรธานี" ซึ่งกอตั้ง
                                       ในป พ.ศ. 2516 และไดเปดสอนในสาขาดานครุศาสตรในรุนแรกเมื่อป พ.ศ.2519 ตอมาเมื่อป พ.ศ. 2527 พระราชบัญญัติ
                                       วิทยาลัยครู (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2527 ไดกําหนดใหวิทยาลัยครูสามารถจัดการศึกษาสาขาวิชาอื่นนอกเหนือจากการจัดการ ศึกษา

                                       สาขาครุศาสตรได
                                              จากจุดเริ่มตนนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี ไดพัฒนาความรวมมือกับมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุมภาคใต
                                       เพื่อสรางความเขมแข็งทางวิชาการ มีการเปดสอนในสาขาวิชาตางๆ มาตามลําดับ มีการทําความรวมมือกับตางประเทศเพื่อ

                                       พัฒนาอาจารยทางดานวิทยาศาสตรและคอมพิวเตอร การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากพระราชบัญญัติสงผลตอการเปลี่ยนแปลง
                                       ทางดานการบริหารและพัฒนาดานกายภาพในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี เปนอยางมากเมื่อมีการประการใช
                                       พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 สงผลใหนโยบายการจัดการศึกษาพัฒนาไปอยางกวางกวาง มีการเปดรับนักศึกษาใน
                                       สาขาวิชาตางๆ เพิ่มอีกหลายสาขา

                                              จากการพัฒนาดานกฎหมายการศึกษาและแรงผลักดันดานปจจัยตางๆ รอบดานสงผลใหมหาวิทยาลัยราชภัฏสุ
                                       ราษฎรธานีเติบโตอยางตอเนื่องทําใหสงผลกระทบตามมาอีกหลายๆดานที่ชัดเจนที่สุดคือการใชพลังงานไฟฟาภายใน
                                       มหาวิทยาลัยฯก็สูงขึ้นตามมาปจจุบันเฉลี่ยที่ 25-30 ลานบาทตอปนอกจากนี้สิ่งที่ตามมาก็คือเกิดขยะมูลฝอย(Domestic

                                       Waste) เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเฉลี่ยปจจุบันมีปริมาณไมนอยกวา 600 ตัน/เดือนรวมกับเศษไมและใบไมภายใยมหาวิทยาลัยฯ
                                       อีก 3 ตัน/เดือน
                                       จากการเปลี่ยนแปลงการใชพลังงานไฟฟาที่สูงขึ้นอยางตอเนื่องเปนลําดับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี จึงมีแนวคิดที่จะ
                                       นําเศษวัสดุเหลือใชภายในมหาวิทยาลัยฯประกอบดวยเศษขยะมูลฝอยและเศษชีวมวลมาเปนวัตถุดิบในการผลิตไฟฟาเพื่อลด

                                       คาใชจายทางดานพลังงานใหกับมหาวิทยาลัยฯ ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานีมีแนวคิดที่จะดําเนินโครงการ“สถานี
                                       ผลิตไฟฟาจากขยะและเศษวัสดุเหลือใชภายในมหาวิทยาลัยฯ” โดยมุงเนนทําการคัดแยกขยะที่มีศักยภาพในการผลิตไฟฟานํามา
                                       ผสมกับเศษไมและใบไมที่เปนเชื้อเพลิงชีวมวลเปนวัตถุดิบพอมทําการยอยใหมีขนาดเล็กและทําการลดความชื้นกอนที่จะ

                                       ปอนเขาสูเตาผลิตไฟฟาระบบ Gasification ซึ่งนอกจากจะเปนการดําเนินการที่สอดคลองกับแผนการพัฒนาพลังงานทดแทน
                                       และพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ป (พ.ศ. 2555 - 2564) (Alternative Energy Development Plan: AEDP 2012 -
   597   598   599   600   601   602   603   604   605   606   607