Page 47 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 47

44


                                 3)  รอยละของพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นจากพื้นที่ของจังหวัด (รอยละ 0.05/ป) จากผลการ

                   ดําเนินงานเฉลี่ย 3 ป (พ.ศ.2557-2559) พบวา มีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นจากพื้นที่ของจังหวัด รอยละ 28.55  ต่ํา
                   กวาเปาหมายเฉลี่ย 3 ป ที่กําหนด รอยละ 28.62 เนื่องจากยังไมสามารถดําเนินการตามเปาหมายที่กระทรวง

                   กําหนด อยางไรก็ตามจังหวัดไดดําเนินโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจําป (พ.ศ.2557-2560) ไดแก

                   โครงการจัดตั้งศูนยเรียนรูปาชายเลนและทรัพยากรชายฝง โดยสรางจิตสํานึกอนุรักษปาชายเลน เพื่อชวยเพิ่ม
                   ประสิทธิภาพใหจังหวัดมีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น


                                 4)  รอยละที่เพิ่มขึ้นของชุมชนพื้นที่เสี่ยงภัยที่ไดรับการเตรียมความพรอมในการบริหาร
                   จัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติ (รอยละ 10 ตอป) จากผลการดําเนินงานเฉลี่ย 4 ป (พ.ศ.2557-2560) พบวา มี

                   ชุมชนพื้นที่เสี่ยงภัยที่ไดรับการเตรียมความพรอมในการบริหารจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติ รอยละ 28.32

                   ต่ํากวาเปาหมายเฉลี่ย 4 ป ที่กําหนด รอยละ 63 เนื่องจากจังหวัดยังขาดความตอเนื่องในการดําเนินการ
                   โครงการเพิ่มศักยภาพเครือขายและชุมชนในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย


                          ระดับเปาประสงคเชิงยุทธศาสตร มีจํานวนเปาประสงคฯ  จํานวน 10 ดาน และมีตัวชี้วัดที่สําคัญตาม

                   ประเด็นยุทธศาสตร  รวม 21 ตัวชี้วัด ซึ่งมีผลการดําเนินงาน ปญหา อุปสรรค และแนวทางการพัฒนาตาม

                   แผนพัฒนาจังหวัดในหวง พ.ศ. 2557 - 2560  สรุปไดดังตาราง ดังนี้





                                                     คาเปาหมาย   ผลการดําเนินงาน
                  ประเด็น
                 ยุทธศาสตร          ตัวชี้วัด         เฉลี่ย         เฉลี่ย      ปญหา อุปสรรค     แนวทางการพัฒนา
                                                   ป 2557 - 2560  ป 2557 – 2560

              เปาประสงคฯ ที่ 1 มูลคาทางเศรษฐกิจของยางพาราและปาลมน้ํามันเพิ่มสูงขึ้น
              1.การเพิ่ม      1) รอยละที่เพิ่มขึ้นของ  299 กก./ไร   252 กก./ไร   ราคาผลผลิตตกต่ํา  สงเสริมการรวมกลุมแบบ

              ศักยภาพการ      ปริมาณผลผลิตยางพารา                (ลดลง 0.85%/ป)  ทําใหขาดแรงจูงใน  แปลงใหญในสถาบัน
              แขงขันภาคเกษตร ตอไร                             (ต่ํากวาเปาหมาย)  การพัฒนา     เกษตรกร ปรับเปลี่ยนการ
              และอุตสาหกรรม   (รอยละ 2/ป)                                                       ผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม
              เกษตร                                                                               (Zoning by Agri map)

                                                                                                  สงเสริมการทําเกษตร
                                                                                                  ผสมผสาน
                              2) รอยละที่เพิ่มขึ้นของ  1 % /ป   ลดลง 15.8% /ป

                              มูลคาการแปรรูปยางพารา             (ต่ํากวาเปาหมาย)
                              (รอยละ 1/ป)
                              3) รอยละที่เพิ่มขึ้นของ  3,249 กก./ไร   3,094 กก./ไร   ราคาผลิตตกต่ําการ  สงเสริมการเพิ่ม
                              ปริมาณผลผลิตปาลม                  (ลดลง 1.75%/ป)  บริหารจัดการสวน  ประสิทธิภาพการผลิต

                              น้ํามันตอไร                      (ต่ํากวาเปาหมาย)  ของเกษตรกรไม  ปาลมน้ํามันคุณภาพ
                              (รอยละ 10/ป)                                     ถูกตองเหมาะสมทํา  สงเสริมการรวมกลุม
                                                                                 ใหประสิทธิภาพการ  แบบแปลงใหญใน

                                                                                 ผลิตต่ํา         สถาบันเกษตรกร และ
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52