Page 45 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 45

42


                          ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 : การพัฒนาสังคมปลอดภัยคุณภาพชีวิตที่ดีและมีศักยภาพในการแขงขัน

                   พบวา มีตัวชี้วัดสําคัญ ไดแก

                                 1)  สัดสวนคดียาเสพติดลดลง (รอยละ 10 ตอป) จากผลการดําเนินงานจังหวัดเฉลี่ย 4 ป

                   มีสัดสวนคดียาเสพติดเพิ่มขึ้นจํานวน 863 คดี ซึ่งต่ํากวาคาเปาหมายเฉลี่ยตามแผนพัฒนาจังหวัด (พ.ศ.2557-
                   2560) ที่กําหนด ตองมีสัดสวนคดียาเสพติดลดลง เปน 261 คดี หรือลดลงรอยละ 10 เมื่อเทียบกับปที่ผานมา

                   เนื่องจากปริมาณของประชากรและผูมาเยือนเพิ่มขึ้น รวมทั้งสภาพสังคมมีความออนแอ เกิดการมั่วสุมเพิ่มมาก

                   ขึ้น สงผลตอการคาและใชยาเสพติด โดยการจัดกุมสวนใหญเปนการจัดกุมขอหาผลิตพืชกระทอม รองลงมาเปน
                   กัญชาสดและกัญชาแหง  ที่ผานมา จังหวัดไดดําเนินการตามแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด

                   มาโดยตลอด โดยมีแผนปองกันยาเสพติด แผนบําบัดรักษายาเสพติด และแผนบริหารจัดการอยางบูรณาการ

                   เพื่อแกไขปญหายาเสพติดในหมูบาน/ชุมชน อยางมีคุณภาพและการมีสวนรวมของประชาชน อยางไรก็ตาม
                   จังหวัดไดโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560 ไดแก การบูรณาการ

                   โครงการของหนวยงานหลายภาคสวนที่เกี่ยวของ ไดแก โครงการพัฒนาชุมชนสุขภาพดี วิถีไทย โดยสํานักงาน
                   สาธารณสุขจังหวัด ฯ  โครงการชุมชนดี ชีวีมีสุข โดยสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด ฯ

                   ซึ่งไดบูรณาการหนวยงานเพื่อคัดเลือกหมูบานตนแบบตามเกณฑ สุขภาพดี ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง

                   เชิดชูวัฒนธรรม และสภาพแวดลอมดี และโครงการสุราษฎรธานีเมืองแหงรอยยิ้มและความสุข โดยสํานักงาน
                   พัฒนาชุมชนจังหวัดฯ ซึ่งไดขับเคลื่อนชุมชนตนแบบเมืองคนดีเพื่อนําสูคุณภาพชีวิตที่ดีกวา


                                 2)  สัดสวนคดีเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินที่ลดลง (รอยละ 4 ตอป) จากผล
                   การดําเนินงานจังหวัดฯ มีสัดสวนคดีเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินที่ลดลง เฉลี่ย 4 ป จํานวน

                   407.25 คดี ซึ่งสูงคาเปาหมายเฉลี่ยตามแผนพัฒนาจังหวัด (พ.ศ.2557-2560) ที่กําหนด ตองมีสัดสวนคดี
                   เกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินที่ลดลง เปน 569 คดี เนื่องจาก จังหวัดไดดําเนินมาตรการในการ

                   ปองกันและแกไขปญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้ง จังหวัดไดดําเนินโครงการตาม

                   แผนปฏิบัติราชการประจําป (พ.ศ.2557-2560) ไดแก โครงการตามรอยพออยูอยางวิถีพอเพียงของที่ทําการ
                   ปกครองจังหวัดฯ โดยตอยอดหมูบานตนแบบเมืองคนดีดวยการจัดระบบการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและ

                   ทรัพยสิน รวมถึงการปองกันภัยพิบัติและการจัดการชุมชน และโครงการชุมชนตนแบบแหงอาหารทะเล โดย

                   สรางเครือขายชุมชนตนแบบและจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอมเพื่อการจัดการความมั่นคงทางอาหาร
                   โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อปองกันอาชญากรรมในพื้นที่เสี่ยง เพื่อสรางความเชื่อมั่นดานความ

                   ปลอดภัยและเพิ่มประสิทธิภาพการปองกันนความปลอดภัยสถานที่และบุคคลสําคัญ เพิ่มประสิทธิภาพการ

                   รักษาความปลอดภัยและอํานวยความสะดวกแกนักทองเที่ยวโดยเฉพาะพื้นที่เกาะหลัก และเพิ่มประสิทธิภาพ
                   การรักษาความปลอดภัยในชุมชน ฝกทักษะการใชอาวุธ การจับกุมตรวจคน ใหราษฎรในหมูบานหรือชุมชน

                                 3)  จํานวนปการศึกษาเฉลี่ย (15 ป)  จากผลการดําเนินงาน 4 ป (พ.ศ.2557-2560) พบวา

                   จังหวัดมีคาเฉลี่ยจํานวนปการศึกษา 4 ป อยูที่ 8.33 ป ต่ํากวาคาเฉลี่ยเปาหมาย 4 ป กําหนดไวคือจํานวน 12 ป

                   เนื่องมาจากหลายปจจัย อาทิ นักเรียนตองออกกลางคัน อาจเพราะการตั้งครรภระหวางเรียน หรือสภาพ
                   เศรษฐกิจทางครอบครัวไมเอื้อตอการสงเสริมการเรียน รวมทั้ง เขตพื้นที่การศึกษา มีขอจํากัดในการบริหาร

                   จัดการใหสถานศึกษายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ครูไมตรงสาขาวิชา,งบประมาณไมเพียงพอ) สงผลให
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50