Page 44 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 44

41


                   จังหวัดเกิดอุทกภัยสรางความเสียหายตอเกษตรกรอีกดวย อยางไรก็ตาม จังหวัดไดดําเนินโครงการตาม

                   แผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560 เพื่อชวยสนับสนุนการดําเนินงานตามเปาหมายแผนฯ
                   ตั้งแต ตนทาง กลางทาง และปลายทาง ไดแก การสงเสริมใหเกษตรกรใชปุยตามคาวิเคราะหดิน สงเสริมการใช

                   ปุยเคมีรวมกับปุยอินทรียคุณภาพสูง เกิดชุมชนดานการใชปุยลดตนทุนการผลิตตนแบบ เปนแหลงเรียนรูใหกับ

                   บุคคล กลุมองคกร เกิดการพัฒนานวัตกรรม สถานประกอบการและสถาบันเกษตรกรสามารถเพิ่มผลิตภาพ
                   สรางมูลคาใหกับผลิตภัณฑ เตรียมความพรอมในองคความรูดานเทคโนโลยี ซึ่งสงผลในการลดตนทุนและเพิ่ม

                   ผลผลิตใหเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด สรางภูมิคุมกันเกษตรกรดวยแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง เพิ่ม

                   ประสิทธิภาพรานคาสหกรณ ใหองคความรูและยกระดับคุณภาพปาลมน้ํามัน สงเสริมการผลิตไมผลแปลงใหญ
                   เพื่อใหเกษตรกรรายยอยบริหารจัดการผลผลิตและการตลาดรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง สงเสริม

                   การผลิตและตลาดสินคาเกษตรปลอดภัยในพื้นที่

                          ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การสงเสริมการทองเที่ยวที่ยั่งยืน พบวา มีตัวชี้วัดสําคัญ ไดแก


                                 1)  รอยละที่เพิ่มขึ้นของรายไดจากการทองเที่ยว (รอยละ 3 ตอป) พบวามีผลการดําเนินงาน
                   สูงกวาเปาหมาย โดยมีคาเฉลี่ย (ป 2557-2560) 70,729.70 ลานบาท คาเปาหมายเฉลี่ย 4 ป เทากับ 53,453

                   ลานบาท ซึ่งมีคาสูงขึ้นอยางตอเนื่อง 4 ป เฉลี่ยรอยละ 10.89 เนื่องจากปริมาณของประชากรและผูมาเยือน
                   เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งจังหวัดไดดําเนินโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557 –

                   2560 ปรับปรุงเสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศเกาะนกตะเภา อ.ดอนสัก โดยปรับปรุงภูมิทัศนและอํานวยความ

                   สะดวกในพื้นที่ทองเที่ยวสงผลใหนักทองเที่ยวเพิ่มขึ้นตามเปาหมายที่กําหนดไว พัฒนาเสนทางทองเที่ยวเชิง
                   วัฒนธรรมและวิถีไทยเพื่อใหเปนที่รูจักในระดับนานาชาติ สงเสริมการปลูกพืชสมุนไพรเพิ่มการทองเที่ยวเชิง

                   สุขภาพ ปรับปรุงแหลงทองเที่ยวกลางเมือง (บึงขุนทะเล) เพื่อดึงดูดนักทองเที่ยว สรางแหลงเรียนรูเชิงนิเวศน
                   ปาชายเลน โดยกอสรางหอดูนก การจัดการทองเที่ยวเชิงเกษตรสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

                   พัฒนาศักยภาพแหลงทองเที่ยวกุยหลินเมืองไทย รวมทั้ง เสริมสรางชุมชนตนแบบเพื่อบริหารจัดการทองเที่ยวรอบ

                   อาวบานดอน

                          ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 : การเชื่อมโยงเสนทางคมนาคมและศูนยโลจิสติกส (Logistics Hub)

                   ภาคใต พบวา มีตัวชี้วัดสําคัญ ไดแก

                                 1)  รอยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) สาขาการขนสงสถานที่เก็บสินคา

                   และการคมนาคม (รอยละ 1 ตอป) เชนเดียวกับรายงานผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) พบวา สาขาการ
                   ขนสงสถานที่เก็บสินคา และการคมนาคม จะลาชากวาปปฏิทินจึงมีรายงานเพียงแคป 2559 ซึ่งจากรายงาน

                   พบวา จังหวัดมีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) สาขาการขนสงสถานที่เก็บสินคา และการคมนาคม

                   เฉลี่ย 3 ป (2557-2259) มูลคา 7,284 ลานบาท ต่ํากวาเปาหมายเฉลี่ย 4 ป (10,068 ลานบาท) ซึ่งต่ํากวา
                   แผนคิดเปนรอยละ 27 แตอยางไรก็ตามพบวาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด สาขาการขนสงฯ มีแนวโนมเพิ่มขึ้น

                   อยางตอเนื่อง ซึ่งจังหวัดไดดําเนินโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560
                   โดยการปรับปรุงเสนทางเพื่อรองรับการขยายตัวเมืองสุราษฎรธานี  ปรับปรุงถนนเพื่อการเดินทางและขนสง

                   ของผลผลิตสินคาเกษตรเขาสูเมือง กอสรางถนนเพื่ออํานวยความสะดวกแกบริเวณพื้นที่ทองเที่ยวหลัก (บานเขาหลัก)
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49