Page 46 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 46

43


                   ผูปกครองสงบุตรหลานไปเรียนโรงเรียนเอกชนมากขึ้น และโรงเรียนขนาดเล็กมีเพิ่มมากขึ้นทําใหครูไมครบชั้น

                   สงผลตอคุณภาพการศึกษา อยางไรก็ตามจังหวัดก็มีแนวทางในการพัฒนาดานการศึกษา เพื่อใหดําเนินการตาม
                   แผนปฏิบัติราชการประจําป (พ.ศ.2557-2560)  ไดแก การจัดตั้งศูนยอาเซียนศึกษาในระดับสถานศึกษาและ

                   ระดับหนวยงานทางการศึกษา รวมทั้งพัฒนาสรางเครือขายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูภายใตโครงการชุมชนดี ชีวีมีสุข

                                 4)  คาเฉลี่ย O-net ม.3 ที่เพิ่มขึ้น จากผลการดําเนินงาน 4 ป (พ.ศ.2557-2560) พบวา

                   จังหวัดมีคาเฉลี่ย O-net ม.3  อยูที่ 37.41 คะแนน ต่ํากวาคาเฉลี่ยเปาหมาย 4 ป กําหนดไว 47.16 คะแนน

                   สาเหตุก็มีลักษณะเดียวกันกับประเด็นจํานวนปการศึกษาเฉลี่ยคือ เขตพื้นที่การศึกษา มีขอจํากัดในการบริหาร
                   จัดการใหสถานศึกษายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ครูไมตรงสาขาวิชา,งบประมาณไมเพียงพอ) สงผลให

                   ผูปกครองสงบุตรหลานไปเรียนโรงเรียนเอกชนมากขึ้น  ในขณะเดียวกันโรงเรียนขนาดเล็กมีเพิ่มมากขึ้นทําให

                   ครูไมครบชั้นสงผลตอคุณภาพการศึกษา รวมทั้ง เครื่องมือทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไมไดมาตรฐาน เชน
                   ปการศึกษา 2558 และปการศึกษา 2559


                                 5)  สถานบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานที่กําหนด (HA) (รอยละ 100) จากผลการ
                   ดําเนินงานเฉลี่ย 2 ป (พ.ศ.2559-2560) พบวาจังหวัดมีคาเฉลี่ยสถานบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานที่

                   กําหนด (HA) อยูที่ รอยละ 77.5  ต่ํากวาคาเปาหมายเฉลี่ย 2 ป พ.ศ.(2559-2560)  ที่กําหนดไว คือ รอยละ
                   88 เนื่องจากความไมตอเนื่องของทีมนําและการพัฒนาคุณภาพ  แนวทางบริการ คือการพัฒนาทีมนําของ

                   องคกร พัฒนาการจัดการความรูขององคกร

                                 6) รอยละของผูสูงอายุที่ไดรับการฟนฟูสมรรถภาพ (รอยละ 20/ป) จากผลการดําเนินงาน

                   เฉลี่ย 2 ป (พ.ศ.2559-2560) พบวาจังหวัดมีคาเฉลี่ยของผูสูงอายุที่ไดรับการฟนฟูสมรรถภาพ รอยละ 46.26

                   สูงกวาคาเปาหมายเฉลี่ย 2 ป พ.ศ.2559-2560)  ที่กําหนดไว คือ รอยละ 20

                          ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5 : การสรางฐานทรัพยากรธรรมชาติที่มั่นคง และมีสภาพแวดลอมที่

                   เหมาะสม พบวา มีตัวชี้วัดสําคัญ ไดแก

                                 1)  รอยละของปริมาณขยะที่ลดลง (รอยละ 0.01 ตอป) จากผลการดําเนินงาน 4 ป (พ.ศ.

                   2557-2560) พบวาจังหวัดมีปริมาณขยะเฉลี่ย อยูที่ 382,99.06 ตัน ต่ํากวาคาเฉลี่ยเปาหมาย 4 ป กําหนดไว
                   โดยตองมีปริมาณขยะ  363,635 ตัน  เนื่องจากระบบการบริหารจัดการยังไมเหมาะสม รวมทั้ง องคกร

                   ปกครองสวนทองถิ่นยังไมจริงจังเพียงพอในการจัดการ

                                 2)  คุณภาพน้ํา (ผิวดิน/ทะเลและชายฝง) มีคุณภาพอยูในเกณฑระดับพอใชไมนอยกวา

                   รอยละ 80 ของสถานีที่มีการตรวจวัด (รอยละ 80) จากผลการดําเนินงานเฉลี่ย 3 ป (พ.ศ.2557-2559) พบวา
                   มีคุณภาพน้ําเฉลี่ย รอยละ 64.01  ต่ํากวาเปาหมายเฉลี่ย 3 ป ที่กําหนด รอยละ 80 เนื่องจากการบริหาร

                   จัดการในการสรางความรูความเขาใจในการดูแลสภาพน้ํายังไมมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง การเติบโตทางเศรษฐกิจ

                   โดยเฉพาะธุรกิจทองเที่ยว สงผลใหมีจํานวนของแหลงมลพิษเพิ่มขึ้น ประกอบการการขยายตัวของชุมชนเมือง
                   ในปจจุบัน อยางไรก็ตาม จังหวัดไดดําเนินโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจําป (พ.ศ.2557-2560) ไดแก

                   การจัดโครงการอนุรักษ ฟนฟูระบบนิเวศ พื้นที่ตนน้ํา พื้นที่อุทยาน พื้นที่ชุมน้ํา เพื่อสรางสมดุล
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51