Page 75 - surat61
P. 75

63




                            จังหวัด มีทําเลที่ตั้งเหมาะสม มีความได้เปรียบเป็นประตูสู่ภาคใต้ เชื่อมโยงการคมนาคมและการ
            ท่องเที่ยวทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน จึงได้กําหนดเป้าหมายการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง

            และโลจิสติกส์ของจังหวัดให้มีศักยภาพเพื่อเชื่อมโยงระดับประเทศ
                          การพัฒนาด้านคนและสังคม พบว่าจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทรัพยากรที่สําคัญหลากหลายใช้เป็นฐานใน

            การพัฒนาจังหวัด และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน มีประวัติศาสตร์และต้นทุนทางวัฒนธรรม ที่สามารถเป็นการ

            ใช้ฐานทรัพยากร เพื่อการพัฒนาสังคมที่สอดคล้องกับนโยบายประเทศด้านการมุ่งสู่การเป็นสังคมปลอดภัยและ
            ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีศักยภาพในการแข่งขัน จึงกําหนดจุดมุ่งเน้นหลัก การเพิ่มประสิทธิภาพการรักษา

            ความปลอดภัยพื้นที่ท่องเที่ยวนานาชาติและชุมชน รวมทั้ง การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ของเยาวชนเพื่อการแข่งขัน
            ให้เต็มศักยภาพ และการเพิ่มประสิทธิภาพเครือข่ายระบบบริการสาธารณสุขให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ

                           การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทรัพยากรธรรมชาติ

             ที่อุดมสมบูรณ์สามารถเป็นฐานการพัฒนาด้านอื่นๆ แต่การขยายตัวทางเศรษฐกิจทําให้การใช้ทรัพยากรธรรมชาติขาด
            ความสมดุล ทั้งพื้นที่ระบบนิเวศป่าและพื้นที่ท่องเที่ยวธรรมชาติ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงมุ่งเน้นเพื่อให้ชุมชนและเมือง

            ท่องเที่ยวหลักมีสภาพแวดล้อมที่ดี โดยเน้นที่ขยะ และน้ําเสีย และการมีพื้นที่ป่ามีความอุดมสมบูรณ์และมีสีเขียวเพิ่มขึ้น
            ชุมชนเสี่ยงภัยมีความพร้อมในการจัดการภัยพิบัติและสาธารณภัย ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ

                       ในการกําหนดเป้าประสงค์ 3 เป้าประสงค์ดังกล่าว จังหวัดได้มีการวิเคราะห์จากการมีส่วนร่วม

            ของภาคีทุกภาคส่วน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยได้กําหนดจุดมุ่งเน้นหลัก แนวทางการดําเนินการ กลยุทธ์ และ
            โครงการสําคัญ ดังนี้


                            ด้านการเกษตร                                     แนวทางการดําเนินงาน


        1. จังหวัดมีพื้นที่ปลูกปาล์มมากที่สุดประกอบกับราคา 1. ยางพารา :         จัดโครงการที่สามารถแก้ปัญหาได้ทั้ง

        ยางพาราในช่วงที่ผ่านมาราคาดี ส่งผลให้เกษตรกรเปลี่ยนจาก   กระบวนการ  โดยเริ่มจากหน่วยงานภาครัฐเข้าจัดการดู

        การทําสวนผลไม้และอาชีพอื่นมาปลูกยางพาราเพิ่มขึ้น  ส่งผล  และเกษตรกรทั้งระบบ ทั้งนี้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
        ให้เกิดปัญหา ต่างๆ ได้แก่ การขาดทักษะในการกรีดยาง การใช้  ต้องสมัครใจและเข้าใจหลักเกณฑ์ เนื่องจากมีการ

        ปุ๋ย ขาดการรวมกลุ่มเป็นสถาบันเกษตรกรในการรวบรวมผลผลิต    ปรับเปลี่ยนทั้งวิธีคิดและการทํางานตามที่หน่วยงาน
        ขาดแหล่งการแปรรูป คุณภาพและประสิทธิภาพของผลผลิตอยู่      แนะนํา เพื่อให้ผลผลิตมีคุณภาพ จะมีการแบ่งผลประโยชน์

        ในเกณฑ์ต่ํา ตลาดยางพาราเริ่มอิ่มตัว ส่งผลให้ราราลดต่ําและมี  กันอย่างเป็นธรรม เกษตรกรไม่ต้องลงทุนเพิ่ม แต่ต้อง
        ผลผลิตใน Stock เป็นจํานวนมาก รวมทั้ง ไม่ยอมให้การยอมรับ  ปฏิบัติตามเงื่อนไข หลักจากนั้น (5ปี) เมื่อหน่วยงานภาครัฐ

        เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานราชการเข้าไปในพื้นที่เพื่อให้คําแนะนํา    ถอนตัวออกมาเพื่อไปดูแลเกษตรกรกลุ่มใหม่กลุ่มเดิมต้อง

        สําหรับปาล์มน้ํามันไม่พบปัญหาเรื่องพันธุ์ปาล์มแต่พบปัญหา   เปลี่ยนวิธีการทํางานทั้งระบบเป็นแบบใหม่ และยังคงใช้
        เช่น การใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมกับค่าดิน การเก็บเกี่ยวผลผลิต ยังมี  วิธีการนี้ไปอย่างต่อเนื่อง โดยหน่วยงานภาครัฐจะมีการ

        สภาพการตัดปาล์มดิบขายให้กับโรงงานและปัญหาการเก็บเกี่ยว   กํากับติดตามอย่างเป็นรูปธรรม

        ที่ไม่ถูกวิธีทําให้ผลปาล์มร่วงจากทลาย ส่งผลให้ขายไม่ได้ราคา   1. ปาล์มน้ํามัน : ส่งเสริมและช่วยเหลือเกษตรกรโดยผ่านกลุ่ม
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80