Page 621 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 621

689
                                                                                                 แบบ จ.1-1
                                                                                           (Project Briefรายโครงการ)




                      การจัดทําแบบสรุปโครงการแบบยอ (Project Brief) ของทุกโครงการภายใตงบประมาณของจังหวัด

                                              แบบสรุปโครงการแบบยอ (Project Brief)


                  ประเด็นการพัฒนาจังหวัด  การสรางฐานทรัพยากรธรรมชาติที่มั่นคงและมีสภาพแวดลอมที่เหมาะสม


                  แผนงาน สงเสริมการมีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหมีประสิทธิภาพ


                              หัวขอ                                       รายละเอียด

                  1.  ชื่อโครงการ          โครงการสรางแหลงหลบภัยของพอพันธุและแมพันธุสัตวน้ําเศรษฐกิจในเขตทะเลชุมชนบาน
                                           หาดสมบูรณ ต.วัง อ.ทาชนะ จ.สุราษฎรธานี
                  2. ความสําคัญของโครงการ   ในอดีตทะเลชุมชนบานหาดสมบูรณ มีสัตวน้ําเศรษฐกิจมีสภาพเสื่อมโทรมและจํานวนลดลง
                  หลักการและเหตุผล         อยางเห็นไดชัด เนื่องจากมีการทําประมงจนเกินกําลังที่ธรรมชาติจะผลิตเขามาทดแทนและ
                                           ยังคงไมเพียงพอตอการบริโภค อีกทั้งยังถูกจับดวยเครื่องมือประมงหลายชนิด เชน อวนลาก

                                           อวนรุน เปนตน ซึ่งเปนเครื่องมือประมงที่กวาดสัตวน้ําวัยออนไปดวย จึงทําใหสัตวน้ําที่มีขนาด
                                           เหมาะสมตอการบริโภคยิ่งหายากขึ้นทุกวัน กรณีเชนนี้ ชุมชนบริเวณชายฝงทะเลจึงเกิดการ
                                           รวมกลุมกันและสามารถนํามาจัดทําธนาคารสัตวน้ําเศรษฐกิจขึ้นเพื่อเปนการชวยธรรมชาติอีก

                                           ทางหนึ่ง จากการลงพื้นที่เบื้องตนของผูทําวิจัยพบวา บานหาดสมบูรณมีสภาพพื้นที่ที่เปน
                                           ทะเล สภาพดินเปนดินเลนปนทราย มีพื้นที่บางสวนติดผืนปาชายเลน และพันธุไมปาชายเลน
                                           หลายชนิด เชน โกงกางใบใหญ โกงกางใบเล็ก ถั่วขาวตะบูนขาว ตะบูนดํา โปรงแดง โปรงขาว
                                           พังกาหัวสุมดอกแดง ตาตุมทะเล แสมดําแสมขาว แสมทะเล เล็บมือนาง จาก ลําพูทะเล และ

                                           หงอนไกทะเล ฯลฯ พื้นที่เปนบริเวณปาชายเลน ในดานนิเวศวิทยา ปาชายเลนจะเปนแหลง
                                           อนุบาลสัตวน้ําวัยออน แหลงที่อยูอาศัย การสืบพันธุ วางไขและหลบภัยของสัตวน้ําและสัตว
                                           บก เปนแหลงธาตุอาหารพืชและสัตวและอินทรียวัตถุที่สําคัญ เปนแหลงเก็บกักตะกอน และ

                                           กลั่นกรองความสกปรกที่มีจากพื้นที่บก ซึ่งถูกพัดพาจากทะเล เปนแนวเปลี่ยนและแนวกันชน
                                           ระหวางบกกับทะเล ชวยสรางสมดุลของสภาวะอากาศ และลดความรุนแรงของปญหาการ
                                           เปลี่ยนแปลงทางขบวนการตามธรรมชาติ ชวยรักษามวลดิน และมวลทรายมิใหถูกพัดพาออก
                                           จากขอบฝงและริมตลิ่ง ชวยเพิ่มพื้นที่ขอบฝงและริมตลิ่ง เนื่องจากการงอกของพื้นดินชวย

                                           รักษาความชุมชื้นของผิวดินและสงเสริมกิจกรรมของจุลินทรีย ตลอดจนถึงเปนพื้นที่ที่มีความ
                                           หลากหลายทางชีวภาพอยางสูง ความสําคัญตอดานเศรษฐกิจไดแกใหผลผลิตทางการประมง
                                           การเพาะเลี้ยงชายฝง การเก็บของปา การเผาถาน ใหผลผลิตการผลิตสารสกัดจากพันธุไม ให

                                           ผลผลิตยารักษาโรค ลดคาใชจายในเรื่องการปองกันชายฝงรายไดจากการทองเที่ยวซึ่งปาชาย
                                           เลนเปนระบบนิเวศที่มีคุณคามหาศาล และมีความสําคัญตอมนุษยหลายรูปแบบถือเปนแหลง
                                           อาหารที่สําคัญของสัตวน้ํา เปนตน กําเนิดจากการสลายตัวของอินทรียวัตถุ ในบริเวณปาชาย

                                           เลน ปาชายเลนยังเปนแหลงที่ตัวออนของสัตวน้ําพวก กุง หอย ปู ปลา เขามาอาศัยรมเงาและ
                                           หาอาหาร ปาชายเลนจึงเปนแหลงอนุบาลตัวออนของสัตวน้ํา ที่มีความสําคัญตอระบบนิเวศ
                                           ทะเลไทยมากที่สุด นอกจากนี้ในโครงการจะสรางบานปลาเพื่อเปนแหลงหลบภัยของพอพันธุ

                                           และแมพันธุสัตวน้ําเศรษฐกิจในเขตทะเลชุมชน เพื่อตองการใหเกิดการขยายพันธุของสัตวน้ํา
                                           วัยออนไดอีกทางหนึ่ง ดังนั้นจึงโครงการนี้จึงเปนการสรางความมั่งคั่ง ความยั่งยืนใหกับทอง
   616   617   618   619   620   621   622   623   624   625   626