Page 59 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 59

56


                          เมื่อพิจารณาสัดสวนโครงสรางการผลิตตามมูลคา GPP เทียบกับสัดสวนผูมีอายุ 15 ปที่มีงานทําจาก

                   โครงการสํารวจภาวะการทํางานของประชากรของสํานักงานสถิติจังหวัดสุราษฎรธานีป 2560 พบวาสัดสวน
                   มูลคา GPP ในสาขาการเกษตรมีเพียงรอยละ 22.40 ในขณะที่มีสัดสวนผูที่ทํางานอยูในสาขาการเกษตร

                   ถึงรอยละ 48.7 และเมื่อพิจารณาความสัมพันธของสัดสวนคา GPP และ สัดสวนผูมีงานทําในสาขาอื่น ๆ

                   ภาคนอกการเกษตร พบวา ทุกสาขามีสัดสวนมูลคา GPP สูงกวาสัดสวนผูมีงานทํา มีเพียงสาขาการขายสง
                   ขายปลีก การ ซอมแซมยานยนตและจักรยาน และสาขาอื่นๆ ที่มีสัดสวนของผูมีงานทํามากกวาสัดสวนของ GPP

                   ซึ่งสะทอนใหเห็นถึง ปญหาดานผลิตภาพแรงงานดานการเกษตร ซึ่งควรไดรับการแกปญหาเพื่อเพิ่มมูลคา

                   ผลิตภัณฑดานการเกษตร ใหเหมาะสมกับสัดสวนแรงงานตอไป

                             สัดสวน GPP และผูมีงานทำจำแนกตามโครงสรางการผลิตป 2560 ของจังหวัดสุราษฎรธานี


                                          สาขาการผลิต             สัดสวน GPP      สัดสวนผูมีงานท

                                   การเกษตร                              22.40              48.7
                                   การผลิต                               16.03               6.1

                                   การขายสงฯ                            13.01              15.8

                                   ที่พักแรมฯ                            20.07               8.6

                                   การกอสราง                            1.78               5.3

                                   การบริหารราชการฯ                        3.96              3.1

                                   การศึกษา                                3.69              2.5
                                   สุขภาพ                                 2.09               1.8

                                   อื่นๆ                                  0.48               8.1

                                  ที่มา: การสํารวจสภาวะการทํางานของประชากร จังหวัดสุราษฎรธานี พ.ศ. 2561 สํานักงานสถิติแหงชาติ





                          1.2.2.2 ดานสังคม


                           วิเคราะหสถานการณเสนความยากจน สัดสวนคนจน และจำนวนคนจน จังหวัดสุราษฎรธานี  ป 2560
                           ในป  2560 มีจํานวนคนจน 28.8 คิดเปนรอยละ 2.74 เพิ่มจาก ป 2559 (14.2 พันคน) และมีเสนความ

                   ยากจน 2,870 บาท/คน/เดือน โดยสวนใหญปญหาความยากจน เกิดจากโครงสรางทางเศรษฐกิจและ
                   ปจจัยพื้นฐาน เชน โครงสรางทางเศรษฐกิจไทยมีขนาดของแรงงานนอกระบบจํานวนมาก ทําใหการคุมครองทาง

                   สังคมยังไมทั่วถึงและครอบคลุมประชาชนทุกกลุม ระดับการศึกษาและคุณภาพ การศึกษา สวนใหญคนจนมี

                   การศึกษาในระดับประถมศึกษาและต่ํากวา การมีการศึกษานอยทําใหโอกาสการตกเปนคนจนสูงขึ้น เนื่องจาก
                   การศึกษาหรือความรู เปนปจจัยสําคัญในการสรางโอกาสในการประกอบอาชีพ ซึ่งจะนําไปสูการสรางรายได

                   สําหรับพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว รายไดและผลตอบแทนการทํางาน สงผลกระทบตอ
                   ผลผลิตเกษตรและรายไดของเกษตรกรลดลง สงผลกระทบทางเศรษฐกิจและการหด ตัวภาคการสงออก
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64