Page 58 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 58

55


                          เมื่อพิจารณาอัตราการขยายตัว GPP ของการผลิตที่มีมูลคามากที่สุด 5 ลําดับแรก พบวา การผลิตภาค

                   การเกษตร รองลงมา ที่พักแรมและบริการดานอาหาร ดานอุตสาหกรรม การขายสงและการขายปลีกฯ  และดาน
                   กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย


                                   20                  18.81

                                   15                               11.62       13.53
                                                       9.95
                                   10                               7.53         7.19        6.95
                                                        9.05                     3.9         5.34
                                    5                                                        1.66
                                                                    -0.03
                                    0     -3.39
                                       -3.15
                                   -5
                                             -4.33
                                  -10



                                                           2558      2559      2560


                            สัดสวน GPP และผูมีงานทำตามโครงสรางการผลิตป 2560 ของจังหวัดสุราษฎรธานี
                          เมื่อพิจารณามูลคา GPP ตามสาขาการผลิต จะพบวา มูลคาการผลิตภาคการเกษตรมีจํานวนรอยละ

                   22.40 สวนที่เหลือรอยละ 77.65 เปนมูลคาการผลิตดานที่พักแรมและบริการดานอาหารมากที่สุดรอยละ
                   20.07 รองลงมาไดแก มูลคาดานอุตสาหกรรมรอยละ 16.03 การขายสงและการขายปลีก การซอมแซมยาน

                   ยนตและ จักรยานยนต รอยละ 13.01 ที่เหลือกระจายอยูในการผลิตดาน การขนสงและสถานที่เก็บสินคา

                   กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย   การบริหารราชการ   การปองกันประเทศ   การศึกษา   และอื่น    ๆ
                          เดือน พฤศจิกายน 2561 เศรษฐกิจจังหวัดสุราษฎรธานีมีสัญญาณหดตัว สะทอนจาก เครื่องชี้ดาน

                   อุปทานหดตัว จากภาคบริการ ภาคเกษตรกรรม และภาคอุตสาหกรรม เครื่องชี้ดานอุปสงคหดตัว จากการ
                   บริโภคภาคเอกชน ขณะที่การลงทุนภาคเอกชน และการใชจายภาคขยายตัว สําหรับดานเสถียรภาพทาง

                   เศรษฐกิจ อัตราเงินเฟออยูที่รอยละ 0.8 การจางงานชะลอตัวรอยละ 0.2 ตามการชะลอตัวของการจางงาน

                   จากกิจการเกษตรกรรม ปาไม กิจการสงคาปลีก และกิจการโรงแรมและอาหาร


                   ตารางที่  เศรษฐกิจดานอุปทาน (การผลิต)

                      เครื่องชี้เศรษฐกิจดานอุปทาน                             ป 2561
                                                ป 2560
                    (Supply Side) (สัดสวนตอ GPP)        Q1      Q2      Q3     ก.ย.   ต.ค.   พ.ย.   YTD
                   ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรม (% yoy)

                   (โครงสรางสัดสวน 26.3 %)       12.6    23.9    -17.1   -22.2  -23.0   22.8  -10.6    -9.2
                   ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (% yoy)   24.0   39.3   1.2    -6.9   -6.2   -9.7  -13.2     5.4
                   (โครงสรางสัดสวน 17.7 %)
                   ดัชนีผลผลิตภาคบริการ (% yoy)
                   (โครงสรางสัดสวน 56.0 %)        1.9     7.9     0.9    4.8    -3.6   0.6    -1.6     3.8
                          ที่มา : รายงานสถานการณและดัชนีชี้วัดแรงงานจังหวัดสุราษฎรธานี  รายป2561 (ม.ค. – ธ.ค. 61 โดย สํานักงานคลังจังหวัดสุราษฎรธานี
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63