Page 178 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 178

173
                                                         218


               4.5 ประเด็นการพัฒนาที่ 5 สรางฐานทรัพยากรธรรมชาติที่มั่นคงและสภาพแวดลอม

                                                   ที่เหมาะสม

                        จังหวัดสุราษฎรธานีมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ สามารถเปนฐานเพื่อการพัฒนาดานอื่นๆ

               ไดเปนอยางดี แตอยางไรก็ตามพบวา ถึงแมพื้นที่ปาชายเลนของจังหวัดสุราษฎรธานีจะมีแนวโนมเพิ่มขึ้นแต
               ระดับความอุดมสมบูรณกลับลดลงมาก ซึ่งเกิดจากสาเหตุหลายประการรวมกัน ที่สําคัญคือ การขยายตัวของ

               ประชากร ทําใหมีการพัฒนากิจกรรมตางๆ มากมาย ที่สําคัญคือ การประมงและการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา
               โดยเฉพาะการทํานากุง การทําเหมืองแร การเกษตรกรรม และกิจกรรมอื่น การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาชายเลน

               ดังกลาวทําใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศปาชายเลน หลายประการ เชน อุณหภูมิน้ําสูงขึ้น ปริมาณธาตุอาหาร

               ลดลง ความเค็มเพิ่มขึ้น น้ําขุนขน มีปริมาณสารพิษ ในน้ํา เกิดการพังทลายของดิน มีการเปลี่ยนแปลงชนิด
               ปริมาณและลักษณะโครงสรางของพืชและสัตวน้ํา ที่ สําคัญคือมีผลกระทบตอความสมดุลของระบบนิเวศในปา

               ชายเลนและระบบนิเวศอื่นในบริเวณชายฝงและ ใกลเคียงปาชายเลน ซึ่งจะสงผลกระทบไปถึงเศรษฐกิจและ
               ประชาชนและของประเทศโดยรวม และยากที่จะฟนฟูเปนปาชายเลนที่อุดมสมบูรณเหมือนเดิมได

               แมจะตองใชเงินลงทุนมหาศาล

                        สถานการณสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะในเขตเมืองและแหลงทองเที่ยวที่ไมสามารถกาวทันการพัฒนา

               ทางเศรษฐกิจ ยกตัวอยาง เชน ในขณะที่ปริมาณขยะและน้ําเสียเพิ่มขึ้นตามระดับการพัฒนาและจํานวน
               ประชากรในเขตเมือง แตเทศบาลนครสุราษฎรธานีและเกาะสมุยยังไมมีระบบการกําจัดขยะและน้ําเสีย

               ที่เหมาะสม ประชาชนมักจะใชพื้นที่แหลงน้ํา เชน ลําน้ํา เปนสถานที่ทิ้งขยะ ทําใหเกิดสภาพแวดลอมเสียหาย

               ปญหาเริ่มทวีความรุนแรงมากขึ้น เพื่อใหการแกไขปญหาขยะ จึงมีความจําเปนตองกอสรางที่กําจัดขยะ
               ใหแกประชาชน หากไมเรงดําเนินการปญหาการสะสมของขยะทําใหทัศนียภาพและคุณภาพนํ้าเสื่อมโทรมลง

               และจําเปนจะตองมีการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมโดยบูรณาการกิจกรรมการดําเนินการของสวนราชการ
               ภาคเอกชน เพื่อใหการดําเนินการสามารถแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเปนการสงเสริมและ

               สรางความมั่นใจแกนักทองเที่ยว ดังนั้น การวางเปาประสงคการพัฒนาจังหวัดดานทรัพยากรธรรมชาติและ

               สิ่งแวดลอมจึงเปน 1) ชุมชนและเมืองทองเที่ยวหลักมีสภาพแวดลอมที่ดี 2) พื้นที่ปามีความอุดมสมบูรณ
               และมีสีเขียวเพิ่มขึ้น (ปาบก ปาชายเลน) และ 3) ชุมชนเสี่ยงภัยมีความพรอมในการจัดการภัยพิบัติและ

               สาธารณภัย

                        แนวทางการพัฒนามีจุดมุงเนนหลัก ในการบริหารจัดการเพื่อใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติและ
               สิ่งแวดลอมอยางคุมคาสมดุล และลดพื้นที่ทรัพยากรทางทะเลที่เสื่อมโทรมและยั่งยืนเฝาติดตามและแกไข

               สถานการณสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ โดยอาศัยแนวรวมจากองคกรภาคประชาชน เพื่อลดการทําลาย

               ทรัพยากรทางทะเลและเตรียมการปองกันภัยธรรมชาติตางๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการประสาน
               ความรวมมือกับทุกหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อปองกันความเสียหาย โดยมีลักษณะของการทํางานในเชิงรุก

               โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอการเกิดภัยธรรมชาติ มีอาสาสมัครในการเตือนภัยและใหความรูเรื่อง

               ภัยธรรมชาติพรอมทั้งการปองกัน และการเตรียมรับมือ ใหแกชาวบานในทุกหมูบาน และชุมชนตางๆ
               โดยความรวมมือของภาคีภาคประชาชน
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183