Page 103 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 103

100


               สังคมแหงการเรียนรูและคุณภาพเยาวชน (สสค.) ไดสงเสริมใหจังหวัด   สุราษฎรธานี เปนจังหวัดแกนนําในดาน

               การปฏิรูปการเรียนรู เปนตน


                       การบริการดานการศึกษา
                       จังหวัดสุราษฎรธานีมีบริการขอมูลที่เชื่อมโยงประเด็นการพัฒนาที่สําคัญของจังหวัดดานการศึกษา

               ประกอบดวย 3 ประเด็น ดังนี้

                       1.  การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจกิจสังคมและประชากร มีผลกระทบตอการศึกษาและการผลิต
               ภาพของแรงงาน ซึ่งยายถิ่นฐานไปทํางานภาคบริการและอุตสาหกรรมในเมืองเพิ่มขึ้น สงผลกระทบตอ

               โครงสรางประชากรและการเรียนรูของเด็กและเยาวชน รวมทั้งคนวัยทํางาน

                           1.1 การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลกระทบตอเด็กและเยาวชนแรงงาน
                              1.1.1 การจัดการศึกษายังมีปญหาทั้งดานปริมาณและคุณภาพ ดังนี้

                             - การศึกษาปฐมวัย (0-5 ป) ยังไมสามารถดําเนินการจัดการศึกษาใหบรรลุเปาหมายตาม

               พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ที่จัดใหเด็กในวัยเรียนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยางทั่วถึง
                             - การศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังไมไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ

                             - การอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ยังไมสามารถผลิตกําลังคนระดับกลาง-สูง เพื่อรองรับ

               ความตองการภาคอุตสาหกรรมและการพัฒนาประเทศ การสรางนวัตกรรมและเพิ่มขีดความสามารถในการ
               แขงขันไดอยางมีประสิทธิภาพ

                             - วัยรุนและเยาวชน ไดรับการศึกษาไมทั่วถึงและมีคุณภาพแตกตางกันยังมีปญหาเนื่องจาก
               สถาบันครอบครัวและชุมชนเปลี่ยนแปลงตางคนมุงหาเงิน วัยรุนขาดความอบอุน ธุรกิจเอกชนแสวงหากําไร

               จากวัยรุนและเยาวชนที่นิยมการบริโภคเพิ่มขึ้น

                             1.1.2 การมีงานทําและผลิตภาพของแรงงาน
                                     การวางงานของผูมีการศึกษาระดับวิชาชีพชั้นสูงและระดับปริญญาตรีขึ้นไปมีสัดสวน

               ตอผูวางงานทั้งหมดสูงขึ้น ซึ่งบงชี้วาการจัดการศึกษายังไมตอบสนองความตองการของตลาดแรงงานไดอยางมี
               ประสิทธิภาพ ผลิตภาพของแรงงานอยูระดับต่ํา เนื่องจากระบบการศึกษาไมสามารถผลิตและพัฒนากําลังคน

               ใหมีสมรรถนะในการปฏิบัติงานไดจริงตรงความตองการของภาคการผลิต  ขาดการเชื่อมโยงในการวาง

               แผนการพัฒนาจังหวัด สถานประกอบการไมใหความสําคัญกับการพัฒนาทักษะของแรงงานเทาที่ควร รวมถึง
               ทัศนคติของแรงงานและสภาพแวดลอมในการทํางานที่เปนอยูไมสรางแรงจูงใจใหแรงงานมุงมั่นที่จะยกระดับ

               การพัฒนาทักษะฝมือของตนเอง
                           1.2 การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรและผลกระทบทางสังคม ภาวะการเจริญพันธุของ

               ประชากรในจังหวัดโดยรวมลดลง ขนาดครอบครัวเล็กลง สงผลตอโครงสรางประชากรที่สัดสวนประชากร
               วัยเด็กในอนาคตมีแนวโนมลดลง สัดสวนของประชากรวัยแรงงานจะคอยๆ ลดลง ขณะที่วัยผูที่มีอายุ

               60 ป ขึ้นไปจะมีแนวโนมเพิ่มขึ้น วัยแรงงานจะตองรับภาระในการดูแลประชากรวัยเด็กและผูสูงอายุ ประชากร
               โดยรวมจะลดลง
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108