Page 83 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 83

80


                           2559          628,680.992           16.921              31.21             19,621,133,760.32

                         ก.ค.2560        402,141.443           16.956              28.67             11,529,395,170.81
                           2561          955,173.302           17.911              17.12                16,355,750.84
                       สํานักงานพาณิชยจังหวัดสุราษฎรธานี, 2561





                              ราคาน้ํามันปาลมดิบ ป พ.ศ. 2562  ณ เดือนสิงหาคม 2562 ผลิตได 93,548.218 ตัน

                   เปอรเซ็นตน้ํามัน 20.335 เฉลี่ยราคา 14.55 บาท/กก. มูลคารวม 1,361,126.57 ลานบาท

                              ปญหาหลักของการผลิตปาลมน้ํามัน คือ ผลผลิตตอไรต่ําและคุณภาพของพันธุปาลม รวมถึง
                   ปญหาเรื่องดิน ซึ่งสามารถแกไขไดดวยการใสปุยที่เหมาะสมกับธาตุในดิน สวนปญหาเรื่องทลายปาลมไดรับ

                   การแกไขและปญหาลดลง สวนหนึ่งเนื่องมาจากทางโรงงานสกัดน้ํามันไดเพิ่มมาตรการเขมงวดมากขึ้นในการ
                   รับซื้อ อยางไรก็ตาม ปญหานี้ตองไดรับการติดตามกํากับจากผูที่เกี่ยวของในการตรวจสอบอยางสม่ําเสมอ

                   เนื่องจากในปจจุบันนี้ โรงงานสกัดน้ํามันปาลมในจังหวัดสุราษฎรธานีมีเปนจํานวนมาก (44 โรงงาน) เมื่อเทียบ
                   กับจํานวนผลผลิตผลปาลมที่จะสงเขาโรงงาน ดังนั้นบางครั้งโรงงานจึงแขงขันกันรับซื้อผลปาลมทั้งผลดิบและผล

                     1
                   สุก  สงผลกระทบตอคุณภาพของน้ํามัน คือ น้ํามันที่สกัดไดออกมาไมมีคุณภาพตามมาตรฐานและคุณภาพของ
                   น้ํามันที่ไดยังไมสม่ําเสมอ นอกจากนี้ในพื้นที่สุราษฎรธานียังไมมีโรงงานกลั่นน้ํามันปาลม (Refinery) ทั้งนี้ เปน
                   เรื่องของตนทุนในการผลิตที่ไมคุมคากับการลงทุน ขาดการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลคา หรืออุตสาหกรรมตอเนื่องซึ่ง

                   มีนอยมาก รวมทั้งการเพิ่มปริมาณการใชน้ํามันปาลมเพื่อพลังงานมีขอจํากัด




                   2.1.4 สถานการณไมผลเศรษฐกิจที่สําคัญ

                          ไมผลเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัดสุราษฎรธานี มี 4 ชนิด คือ เงาะ ทุเรียน ลองกอง และมังคุด โดยป

                   2561 เงาะเปนไมผลที่มีเนื้อที่ใหผลมากที่สุดจํานวน  29,206 ไร รองลงมาคือ ทุเรียน มีเนื้อที่ใหผลจํานวน

                   28,171 ไร ตอมาคือ ลองกอง มีเนื้อที่ใหผลจํานวน 14,260 ไร และลําดับสุดทาย คือ มังคุด มีเนื้อที่ใหผล
                   จํานวน 11,697 ไร  ซึ่งทิศทางแนวโนมในขณะนี้เกษตรกรบางสวนโคนไมผลที่มีอยูเดิม ไดแก เงาะ มังคุด และ

                   ลองกอง แลวปรับเปลี่ยนมาปลูกทุเรียนทดแทน  ซึ่งใหผลตอบแทนที่ดีกวา จากการที่ตลาดทั้งในและ

                   ตางประเทศมีความตองการทุเรียนเพิ่มขึ้นจูงใจใหเกษตรกรปลูกเพิ่มขึ้น และมีการดูแลรักษาเปนอยางดีทําใหเนื้อ
                   ที่ปลูกและเนื้อที่ใหผลไมผลเศรษฐกิจที่สําคัญชนิดอื่นของจังหวัดสุราษฎรธานี มีแนวโนมลดลง ผลตอบแทนไม

                   คอยดี เปนผลจากราคาที่คอนขางต่ํา ประกอบกับตนทุนการผลิต ทั้งปุยและคาจางแรงงานเพิ่มมากขึ้น

                   นอกจากนี้     ยังไดรับผลกระทบจากสภาพอากาศที่ไมเอื้ออํานวย ทําใหเกษตรกรบางสวนขาดแรงจูงใจในการ
                   ดูแลรักษา ประกอบกับเกษตรกรสวนหนึ่งยังคงทําสวนผลไมแบบดั้งเดิม ไมมีการนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามา

                   ประยุกตใชในการผลิต สงผลตอปริมาณและคุณภาพผลผลิตที่เกษตรกรจะเก็บเกี่ยว
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88