Page 6 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 6

3


                   1.2 ลักษณะภูมิประเทศ


                          ลักษณะภูมิประเทศประมาณรอยละ 49 ของพื้นที่เปนภูเขา ภูเขาสําคัญของจังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก

                   เทือกเขาบรรทัด เทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งทอดยาวผานเนื้อที่จังหวัดใกลเคียงหลายจังหวัด เปนตนกําเนิดลุมน้ําใหญนอย
                   รวม 14 ลุมน้ํา จากฝงตะวันตกพื้นที่ลาดเอียงไปทางทิศตะวันออกซึ่งมีลักษณะคลายกระทะหงาย  ภูมิประเทศ

                   ของจังหวัดสุราษฎรธานี โดยสรุปมีลักษณะดังตอไปนี้

                              o  ภูมิประเทศเปนที่ราบสูง ภูเขาสลับซับซอน ไดแก พื้นที่ในเขตอําเภอคีรีรัฐนิคม พระแสง

                                 พนม ทาฉาง ไชยา ทาชนะ เวียงสระ  ชัยบุรี และอําเภอวิภาวดี
                              o  ภูมิประเทศเปนที่ราบสูงดานตะวันออก ไดแก พื้นที่อําเภอเมือง  ดอนสัก กาญจนดิษฐ  เวียงสระ

                                 และบานนาสาร

                              o  ภูมิประเทศที่เปนที่ราบสูงตอนกลางสวนใหญอยูในอําเภอเมือง พุนพิน เคียนซา พระแสง
                                 พนม บานนาเดิม ทาชนะ ทาฉาง และไชยา

                              o  ภูมิประเทศเปนที่ราบชายฝงทะเล ไดแก  พื้นที่อําเภอเมืองและพุนพิน

                              o  ลักษณะภูมิประเทศเปนเกาะในอาวไทย ไดแก พื้นที่อําเภอเกาะสมุย เกาะพะงัน หมูเกาะ

                                 อางทอง และเกาะบริวาร รวม  42  เกาะ

                   2.3 ลักษณะภูมิอากาศและฤดูกาล


                          จังหวัดสุราษฎรธานีจะไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเปนสวนใหญ จะมีแหลงกําเนิด

                   บริเวณทะเลจีนใตและอาวไทย ทําใหจังหวัดสุราษฎรธานีไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัด
                   ผานอาวไทยและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจากมหาสมุทรอินเดีย จึงมีชวงฤดูฝนยาวนานระหวางเดือนพฤษภาคม

                   ถึงเดือนมกราคม โดยจังหวัดสุราษฎรธานี มีอุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย 21.16 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย
                   34.51 องศาเซลเซียส  มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 129.59 มิลลิเมตรตอป


                   2.4 แหลงน้ําธรรมชาติ

                          จังหวัดสุราษฎรธานีมีลุมน้ําใหญนอยรวม  14  ลุมน้ํา  ทุกสายลวนลงสูอาวไทย แมน้ําในสุราษฎรธานี

                   ตัดขวางคาบสมุทร ออกสูทะเลดานตะวันออก ในอดีตอาศัยเครือขาย แมน้ําเดินทางติดตอถึงกัน และติดตอ

                   กับเมืองชายฝงแมน้ําที่มีลักษณะทางอุทกวิทยา แมน้ําที่สําคัญของจังหวัดมี  2 สาย คือ
                              o  แมน้ําตาป เกิดจากเทือกเขานครศรีธรรมราชไหลผาน อําเภอฉวาง อําเภอทุงใหญ อําเภอพระแสง

                                 อําเภอ เวียงสระ อําเภอเคียนซา  อําเภอบานนาสาร อําเภอบานนาเดิม  อําเภอพุนพิน และไหล

                                 ลงสูอาวไทย ที่อําเภอเมือง มีความยาวประมาณ 230 กิโลเมตร ปริมาณน้ําเฉลี่ย 5,900 ลาน
                                 ลูกบาศกเมตรตอป


                              o  แมน้ําพุมดวง เกิดจากคลองแสง คลองสก และคลองยันไหลผาน  อําเภอบานตาขุน อําเภอ
                                 คีรีรัฐนิคม  และ อําเภอทาฉาง บรรจบกับแมน้ําตาปที่ อําเภอพุนพิน ยาวประมาณ 80

                                 กิโลเมตร ปริมาณน้ําเฉลี่ย 6,600  ลาน ลูกบาศกเมตรตอป
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11