Page 4 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 4

บทที่ 1



                                                          สภาพทั่วไป



                   1. ที่มา


                          ดินแดนบริเวณชายฝงทะเลอาวไทย ที่เรียกวาอาวบานดอน ในทุกวันนี้ นักโบราณคดีไดสันนิษฐาน

                   ไววา ผูคนชาวพื้นเมืองอาศัยอยูกันมาตั้งแตหนึ่งพันสี่รอยปกอนแลว หรือประมาณพุทธศตวรรษที่ 11 – 12

                   นั่นเอง ครั้งกระนั้นมีชาวอินเดียแลนเรืองมาถึงเมืองตะกั่วปาและเดินทางเลาะเลียบลําน้ําตะกั่วปาไปสูเชิงเขาหลวง

                   ขามเขาเดินเลียบริมแมน้ําหลวงเรื่อยมาจนถึงปากอาวบานดอนชาวอินเดียเปนผูมีวิชาความรูเหนือชนพื้นเมือง

                   จึงไดแพรวัฒนธรรมของตนไวในดินแดนเหลานี้ สมัยนั้นเปนเวลาแหงความรุงเรืองของอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งนัก

                   โบราณคดีชาวอังกฤษดอกเตอรควอริตย เวลส และศาสตราจารย ศรีศักร วัลลิโภดม ใหความเห็นสนับสนุนวา

                   ศูนยกลางอาณาจักรศรีวิชัยอยูที่บริเวณจังหวัดสุราษฎรธานี


                          รอบอาวบานดอนมีเมืองสําคัญ ๆ อันเปนที่มาของจังหวัดสุราษฎรธานีในปจจุบันอยูหลายเมือง คือ

                   เมืองไชยา ตั้งอยูบริเวณริมน้ําทาทองอุแท อยูในบริเวณอําเภอกาญจนดิษฐ ปจจุบัน และเมืองคีรีรัฐนิคมตั้งอยู

                   ณ ริมฝงแมน้ําพุมดวง ซึ่งอยูในเขตอําเภอคีรีรัฐนิคมในปจจุบันเมืองทั่งสามนี้เปนเมืองเกาแกอันเปนตนกําเนิด

                   ของจังหวัดสุราษฎรธานีหรือบานดอนวันนี้0


                          “วันพฤหัสบดีที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2458 วันนี้มีกระแสพระบรมราชองการดํารัสเหนือเกลาสั่งผูแทน

                   เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ใหประกาศพระราชปรารภเรื่องที่บานดอนซึ่งเปนเมืองไชยาใหม แลตั้งที่วาการ

                   มณฑลชุมพรอยูนั้น ประชาชนก็คงเรียกวาบานดอนอยูตามเดิม และเมืองไชยาเกา ซึ่งเปลี่ยนเรียกวา อําเภอพุมเรียง

                   แตราษฎรก็คงเรียกชื่อเดิม เมืองไชยาเปนไชยาเกา ไชยาใหม สับสนกันไมเปนที่ยุติลงในราชการ จึงโปรดเกลาฯ

                   พระราชทานนามเมืองที่บานดอนใหมวา เมืองสุราษฎรธานี เปลี่ยนอําเภอพุมเรียง เรียกวา อําเภอเมืองไชยา

                   เพราะเปนชื่อเกา”

                          ในวันเดียวกันนี้เอง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงเปลี่ยนนามแมน้ําหลวงเปนแมน้ําตาป

                   การที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองไชยาที่บานดอนเปน “เมืองสุราษฏรธานี”

                   ก็เพราะทรงสังเกตเห็นวา ราษฎรมีกิริยามารยาทเรียบรอย ตั้งมั่นในศีลธรรมและหลักพระพุทธศาสนา และ


                   การที่ทรงเปลี่ยนชื่อแมน้ําหลวงเปนตาปนั้น เลากันวา พระองคทรงนําแบบมาจากอินเดีย ซึ่งเปนแมน้ําสายหนึ่ง
                   ตั้งตนจากขุนเขาสัตตปุระ ไหลลงสูมหาสมุทรอินเดียทางอาวแคมเบย ชื่อแมน้ําตาปติ ทางฝงซายกอนที่ แม


                   น้ําตาปติจะออกปากอาวนี้มีเมืองเมืองหนึ่งชื่อเมืองสุรัฎร ตั้งอยู ดวยเหตุนี้เมื่อพระองคทรงเปลี่ยนชื่อเมืองเปน
                   สุราษฎรธานี (สุรัฎร) จึงทรงเปลี่ยนแมน้ําหลวงเปนตาปดวย
   1   2   3   4   5   6   7   8   9